Page 46 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 46

9-36 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

	 รูป ก. 	                                                                                    รูป ข.

จากรูป ก. ถ้าหมุน OP ตามเข็มนาฬิกาที่จุดหมุน O ให้ OP//AB จะได้ OR //BC  ลักษณะของรูป
                                                             41×  1ข5อง	 พ=ื้นท	 ี่ข2อ2ง5
ที่แรเงาจะเปลี่ยนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่เป็น                                  	  ABCD ดังรูป ข.
       เนื่องจาก	 พื้นที่ของ ABCD เท่ากับ	 15                                                 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น 	 พื้นที่ของส่วนที่แรเงาเป็น	 14 × 225 	 = 	 56.25 	ตารางเซนติเมตร

       2. 	การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ  เป็นการนำ�ความรู้และทักษะและกระบวนการต่างๆ
ทางคณิตศาสตร์ไปสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลกับเนื้อหาและความรู้ของศาสตร์อื่นๆ เช่น วิทยาศาสตร์
ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ จิตวิทยา และเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ทำ�ให้การเรียนคณิตศาสตร์น่าสนใจ มี
ความหมาย และนักเรียนเห็นความสำ�คัญของการเรียนคณิตศาสตร์

       คณิตศาสตร์มีบทบาทสำ�คัญต่อศาสตร์อื่นๆ มาตั้งแต่สมัยโบราณโดยเฉพาะอย่างยิ่งในทาง
วิทยาศาสตร์ จนนักคณิตศาสตร์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ ถึงกับกล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์
(Mathematics is the Queen of the Sciences) นักคณิตศาสตร์หลายคนในอดีตเป็นนักวิทยาศาสตร์ด้วย
ตัวอย่างเช่น อาร์คิมีดีส (Archimedes) ผู้เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์
ชาวกรีกผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ อาร์คิมีดีสได้เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มา
สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มากมาย ผลงานทางคณิตศาสตร์ที่สำ�คัญคือเป็น
กผาูค้ ร�ำ คน�ำ วนณวณไดทว้ ีเ่า่ ป  น็27แ213นว<คπดิ น<�ำ ไป27ส2ูส่  ิง่กทารีน่ เกัขยีคนณแติ ทศนาจสำ�ตนรวร์ นุน่ ดตว้ อ่ ยมเลาไขดยพ้ กฒักำ�นลางั จแนลเะปกน็ าวรชิคาำ�แนควลณคเลูกสัีย่ วแกลบั ะเกลาขรยคก�ำ กนำ�วลณงั
หาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตสองมิติที่ไม่มีสูตรสำ�เร็จในการคำ�นวณ ส่วนผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่สำ�คัญคือ
เป็นผู้คิดค้นหลักการอาร์คิมีดีส (Archimedes’ Principle) และให้แนวคิดเกี่ยวกับจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ
คานและรอกกับการทุ่นแรงและระหัดวิดนํ้าแบบสกรูเกลียว

       นอกจากในทางวิทยาศาสตร์แล้ว จะเห็นได้ชัดเจนว่ายังมีการนำ�ความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ใน
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งสถาปนิกและวิศวกรจำ�เป็นต้องใช้คณิตศาสตร์มาช่วยใน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51