Page 49 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 49

กิจกรรมส่งเสริมทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 9-39

ถ้า  T  เป็นแรงตึง ณ จุด P  ซึ่งมีพิกัด (x, y) และทำ�มุม β กับแนวระดับ จะได้
ทั้งนี้ เป็นไปตTTา		มscionหsθลθัก		ค==วา		มTwส0มx 	ด	 ุลของแรงทางฟิสิกส์      ..........(1)
                                                                              ..........(2)

ต่อไป พิจารณาการคำ�นวณความสูงน้อยสุดจากสายเคเบิลถึงสะพาน

จาก (1) และ (2)              wTx00
   (1)
	  (2)  ;  	     tanθ 	 = 	

		ddyx 	         =	          wx
	 	 y	                       T0

                 =	          w      x2 + c
                             2T0

เมื่อ  x = 0  จะได้ y = OC  ดังนั้น  c  คือระยะ  OC

       หลังจากมีเสาหลักเรียบร้อยแล้ว วิศวกรจะต้องใช้ลวดเหล็กกล้าร้อยไปร้อยมา เมื่อครบจำ�นวน
จะตีสายรัดเข็มขัดเป็นมัด  และเมื่อครบจำ�นวนมัดจึงรวมเป็นสายเคเบิล ปลายลวดเหล็กกล้าต้องร้อยกับ
เหล็กสมอ ซึ่งฝังอยู่ในคอนกรีตที่ยื่นปลายทั้งสองออก บริเวณที่ฝังเป็นหิน เจาะเป็นปล่องรูปลิ่มทำ�มุม 30
องศากับแนวระดับ แล้วอัดด้วยคอนกรีต

       ปัจจุบันวิศวกรได้พัฒนาทั้งวัสดุและวิธีการทำ�ให้สามารถสร้างสะพานแขวน ช่วงกว้าง ได้ถึง
หมื่นฟุต (3 กิโลเมตรกว่า) ในการออกแบบสะพานแขวนวิศวกรคำ�นึงถึงองค์ประกอบมากมาย เช่น

       1.	 	นํ้าหนักสะพาน
       2. 		เมื่อมีพายุอย่างอ่อน ต้องแกว่งไม่เกิน 2 เมตร
       3.	 	สะพานยืดหดเนื่องจากความร้อนไม่เกิน 12 ฟุต
       4.	 	นํ้าหนักของสะพานทำ�ให้สายเคเบิลยืดตํ่าลงมา 8.5 เมตร

ตวั อย่าง 	 อ งคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization หรือ WHO) ได้นำ�ความร้เู ก่ยี วกับอัตราส่วน
         และเลขยกกำ�ลังไปใช้ในการกำ�หนด ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) เพื่อบอกภาวะ
         โภชนาการท่ผี ่านมาของผูใ้ หญท่ ี่ความสูงไมไ่ ด้มีการเปลี่ยนแปลงแล้ว

       ในการคำ�นวณหาดัชนีมวลกายใช้สูตร ดังนี้

                 ดัชนีมวลกาย   =            นํา้ หนักเป็นกิโลกรมั
                                            (ความสงู เปน็ เมตร)2
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54