Page 21 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 21

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-11

           - 	 มค​ี วามห​ มายท​ เี​่ ปลีย่ นไ​ปต​ ามร​ ปู แ​ บบข​ องภ​ าษา ทีม่ าจ​ ากก​ ารใ​ชว​้ ภิ ตั ต-ิ ปจั จยั (inflec-
tional morphology) โดย​การเ​ติมอ​ ุปสรรค (prefix) หรือ​ปัจจัย (suffix) เช่น safe เป็นค​ ำ�​คุณศัพท์
แปล​ว่า ปลอดภัย เมื่อ​เติม​อุปสรรค un ไว้​หน้า​คำ�​นี้ คือ unsafe ก็​ยัง​คง​เป็น​คำ�​คุณศัพท์ แปล​ว่า
ไ​มป​่ ลอดภัย แต่​หากเ​ติม ปัจจัย (suffix) –ly ท้ายค​ ำ�​นี้ safely ชนิดข​ อง​คำ�​ก็จ​ ะเ​ปลี่ยน​ไป คือ​เป็น​คำ�​
กริยา​วิเศษณ์ (adverb) แปลว​ ่า อย่างป​ ลอดภัย

           -	 เป็น​คำ�​ประสม (compound word) ซึ่ง​มา​จาก​การ​รวม​คำ�  2 คำ�  ขึ้น​ไป เช่น
telephone (โทรศัพท์) number (ตัวเลข/จำ�นวน) เมื่อ​รวม​กัน​เป็น telephone number แปล​ว่า
หมายเลขโ​ทรศัพท์

      3. 	 ไวยากรณ์ (grammar) องค์ป​ ระกอบท​ ี่ส​ ำ�คัญข​ อง​ไวยากรณ์จ​ ำ�แนกอ​ อก​เป็น 3 ส่วน ได้แก่
สัทว​ ิทยา​หรือ​ระบบเ​สียง วากยสัมพันธ์ (syntax) และห​ น่วย​คำ� (morphology) สำ�หรับ​ส่วนท​ ี่เ​รียกว​ ่า​
สัท​วิทยา​หรือ​ระบบ​เสียง​ได้​ให้​ความ​หมาย​และ​อธิบาย​ไว้​แล้ว​ข้าง​ต้น ใน​ที่​นี้​จึง​กล่าว​ถึง​ส่วน​ที่​เรียก​ว่า
วากยสัมพันธ์

      วากยสัมพันธ์ เป็นการ​เรียบ​เรียง​คำ�​และ​วลี​ต่างๆ ให้​เป็น​ประโยค​ให้​ถูก​ต้อง โดย​อยู่​บน​
พื้น​ฐาน​ของ​กฎ​เกณฑ์​และ​ข้อ​บังคับ​ของ​ภาษา วากยสัมพันธ์​มี​องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ 3 ประการ คือ
คลังค​ ำ�ศัพท์ (lexicon) การ​เรียงล​ ำ�ดับค​ ำ� (word order) และ​การ​ใช้ว​ ิภัตติ-ปัจจัย

      นอกจาก ‘ไวยากรณ์’ เป็นการ​ศึกษา​เกี่ยว​กับ​กฎ​เกณฑ์​แบบแผน​ของ​ภาษา​ดัง​กล่าว​แล้ว
‘ไวยากรณ์’ อาจ​หมายความ​รวม​ถึง​สัทศาสตร์ (phonetics) อรรถ​ศาสตร์ (semantics) และ​วัจน​
ปฏิบัติศ​ าสตร์ (pragmatics)

      สรุป​ได้​ว่า ‘ไวยากรณ์’ หมาย​ถึง กฎ​เกณฑ์​ของ​ภาษา​ซึ่ง​มี​การ​กำ�หนด​ไว้​เป็น​แบบแผน (แต่​
บาง​กรณี​อาจ​มี​ข้อ​ยกเว้น​และ​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​กฎ​เกณฑ์​ที่​กำ�หนด) รวม​ถึง คำ�​ศัพท์ ชนิด​ของ​คำ� (parts
of speech) การ​สร้าง​คำ� การเ​ปลี่ยน​รูป​แบบ​ของค​ ำ� การ​ประสมค​ ำ� การเ​รียบเ​รียง​คำ�เป็นว​ ลี การเ​รียบ​
เรียง​คำ�​ให้​เป็น​ประโยค​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​สื่อ​ความ และ​การ​ตีความ ไวยากรณ์​ของ​แต่ละ​ภาษา​มี​รูป​แบบ​วิธี​
การ​ที่แ​ ตก​ต่าง​กันไ​ปม​ าก​บ้าง​น้อยบ​ ้างข​ ึ้น​อยู่​กับค​ วาม​สัมพันธ์​ของภ​ าษา​นั้นๆ

      4. 	 วจั นป​ ฏิบตั ศ​ิ าสตร์ (pragmatics) หมาย​ถึง การใ​ช้ภ​ าษาใ​น​สถานการณ์ท​ ี่​เป็น​จริง โดย​ต้อง​
พิจารณา​ผู้​พูด ผู้​ฟัง และ​บริบท (context) เน้น​ถึง​ความ​เข้าใจ​ใน​การ​สื่อ​ความ ใช้​เนื้อหา​ทาง​ภาษา​ที่​
สอดคล้อง​กับห​ ัวเ​รื่อง (topic) สถานการณ์ หมวด​หมู่​ของภ​ าษา (notion) และห​ น้าที่ข​ อง​ภาษา (func-
tion)

      คำ�​ว่า ‘หน้าที่​ของ​ภาษา’ หมาย​ถึง การ​ใช้​ภาษา​เพื่อ​สื่อ​ความ​ตาม​จุด​มุ่ง​หมาย​ที่​ต้องการ เช่น
การใ​ช้​ภาษา​เพื่อก​ ารแ​ นะนำ�​ตัวเ​อง การ​ทักทาย การข​ อโทษ การก​ ล่าว​ลา การ​แสดงค​ วามข​ อบคุณ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26