Page 23 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 23

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-13

           การฟ​ ังเ​ป็นท​ ักษะท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับค​ วามจ​ ำ�​และก​ ารถ​ ่ายโ​อนข​ ้อมูล ริเ​วอ​ รส์ (Rivers, 1980
อ้างถ​ ึงใ​น สำ�นักท​ ดสอบท​ างการศ​ ึกษา กรมว​ ิชาการ 2537) กล่าวว​ ่า การฟ​ ังภ​ าษาต​ ่างป​ ระเทศเ​กี่ยวข้อง​
กับ​การ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ​สิ่ง​ที่​ฟัง ซึ่ง​การ​ที่​จะ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ได้​นั้น มี​องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ 3
ประการ ได้แก่

               1) 	ขอ้ มลู ​ทางภ​ าษาศาสตร์ (linguistic information) หมายถ​ ึง เสียง คำ� และ​การจ​ ัด​
เรียง​คำ�​พูด​ที่ไ​ ด้ยิน

               2) 	บรบิ ทด​ ้านส​ ถานการณ์ (situational context) หมาย​ถึง สถานการณ์ใ​น​การพ​ ูด​ที​่
มีผ​ ลต​ ่อก​ ารร​ ับฟ​ ัง เช่น ความส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างส​ ิ่งท​ ี่ไ​ด้ยิน สิ่งท​ ี่พ​ ูดอ​ อกม​ า และส​ ิ่งท​ ี่ค​ าดว​ ่าจ​ ะไ​ด้ยินต​ ่อไ​ป

               3)	ขา่ วสาร​ที่​เปน็ ​ท่ี​เขา้ ใจ (comprehended message) หมาย​ถึง ความ​สามารถ​ที่​จะ​
เข้าใจ​ข่าวสารข​ อง​ผู้ฟ​ ัง ซึ่ง​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​ตั้งใจข​ องผ​ ู้​พูด​ด้วย

           แอนเด​อร์​สัน​และ​ลินช์ (Anderson & Lynch, 1988) กล่าว​ถึง​ทักษะ​การ​ฟัง​ว่า ต้อง​
อาศัย​การ​ฝึกฝน​จาก​การ​สอน​ที่​มี​การ​กำ�หนด​ขั้น​ตอน​ไว้​เป็น​อย่าง​ดี โดย​ต้อง​คำ�นึง​ถึง​องค์​ประกอบ​ที่​
สำ�คัญ 3 ประการ คือ

               1) 	ประเภทข​ องต​ วั ป​ อ้ น (input) ได้แก่ ลักษณะภ​ าษาท​ ี่ผ​ ู้ฟ​ ังได้ร​ ับฟ​ ัง ความย​ ากง​ ่าย​
ของ​ตัว​ป้อน​ทาง​ภาษา​จึง​ขึ้น​อยู่​กับ​การ​จัด​ลำ�ดับ​ข้อมูล ความ​คุ้น​เคย​กับ​หัว​เรื่อง​ที่​ได้​รับ​ฟัง และ​ความ​
ชัดเจน​ของ​ข้อมูล​ที่​ให้ ตลอดจ​ นค​ วามซ​ ับ​ซ้อนข​ องเ​นื้อหา เป็นต้น

               2) 	การส​ นับสนุนจ​ ากบ​ ริบทใ​นก​ ารฟ​ ัง (listening context) ได้แก่ จำ�นวนข​ ้อมูลแ​ ละ​
เวลา​ที่​ใช้​ใน​การ​ฟัง ถ้า​ผู้​ฟังได้​ทำ�​กิจกรรม​ใน​การ​ฟัง​ที่​เหมาะ​สม​มา​ก่อน มี​ความ​เข้าใจ​จุด​มุ่ง​หมาย​ของ​
การ​ฟัง​อย่าง​ชัดเจน จะ​ช่วย​ให้การ​รับ​ข้อมูล​ของ​ผู้​ฟัง​เป็น​ขั้น​ตอน​มาก​ขึ้น ทำ�ให้​ผู้​ฟัง​ไม่​ต้อง​เน้น​ความ​
จำ�​มากเ​กินไ​ป การ​ใช้ส​ ื่อห​ รือ​วัสดุ​สารท​ ี่ม​ อง​เห็นไ​ด้จ​ ะช​ ่วย​ให้​ผู้ฟ​ ัง​เข้าใจ หรือ​ตีความส​ ิ่งท​ ี่​ฟังได้ช​ ัดเจน​
ยิ่ง​ขึ้น นอกจาก​นี้​การ​ทำ�งาน​เป็นก​ลุ่ม​จะ​ช่วย​ให้​ผู้​เรียน​ได้​ร่วม​มือ​กัน ช่วย​เหลือ​กัน นับ​ว่า​เป็นการ​ส่ง​
เสริม​สภาพ​แวดล้อม​ในก​ ารเ​รียน ทำ�ให้ก​ าร​ฝึก​ทักษะ​การ​ฟังได้​ผลด​ ี​ยิ่ง​ขึ้น

               3) 	ประเภทข​ องก​ จิ กรรม (task involved) กิจกรรมท​ ี่ต​ ่างก​ ันท​ ำ�ให้ผ​ ูฟ้​ ังได้ร​ ับฟ​ ังส​ ิ่งท​ ี​่
ซับ​ซ้อน​ต่าง​กัน เช่น การ​สรุปเ​นื้อหา​ที่​ฟัง​อาจเ​ป็นก​ ิจกรรมท​ ี่​ยาก​กว่าก​ าร​ให้​เติม​ข้อความ​ให้ส​ มบูรณ์ท​ ั้ง​
ที่​เป็น​เนื้อหา​เดียวกัน การ​ให้​วาด​ภาพ​หรือ​เรียง​ภาพ​ตาม​ลำ�ดับ​เหตุการณ์ เป็น​งาน​ที่​ง่าย​กว่า​การ​ให้หา​
ข้อมูล​ที่​เป็น​ข้อ​เท็จ​จริง​หรือ​เป็น​ความ​คิด​เห็น เป็นต้น ดัง​นั้น​การ​จัด​กิจกรรม​จึง​ต้อง​จัด​ให้​เหมาะ​กับ​
ความ​สามารถข​ อง​ผู้เ​รียน​ด้วย

           1.2 	ทักษะ​การ​อ่าน การ​อ่าน​เป็น​รูป​แบบ​ของ​การ​สื่อ​ความ​หมาย​แลก​เปลี่ยน​ความ​คิด​
และ​ข่าวสารค​ วามร​ ู้ร​ ะหว่าง​ผู้​เขียนแ​ ละ​ผู้อ​ ่าน (วิมล​รัตน์ สุนทร​โรจน์ 2540; บัณฑิต (ม.ป.ป.) กล่าวถ​ ึง​
การ​จำ�แนก​ประเภท​ของ​การ​อ่าน​ว่า​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​ผู้​เขียน​เพื่อ​นำ�​ไป​สู่​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ที่​
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28