Page 25 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 25

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-15

ทีอ่​ ่านต​ ้องพ​ ิจารณาค​ ำ�​ศัพทแ์​ ละค​ วามห​ มายข​ องค​ ำ�​ต่างๆ โดยล​ ะเอียดถ​ ี่ถ้วน นอกจากน​ ั้นผ​ ูอ้​ ่านอ​ าจต​ ้อง​
เข้าใจถ​ ึงค​ วามห​ มายท​ ี่ผ​ ู้เ​ขียนต​ ้องการแ​ สดงถ​ ึงน​ ัยต​ รงห​ รือค​ วามห​ มายต​ รง (denotation) นัยป​ ระหวัด​
หรือ​ความห​ มาย​แฝง (connotation) ของค​ ำ�​หรือบ​ ริบท​นั้นๆ

                    3.4) 	การ​อ่านเ​พื่อ​ความบ​ ันเทิง (reading for pleasure) เป็นการ​ผ่อนค​ ลาย​
อารมณ์ เช่น การอ​ ่านน​ วนิยาย เรื่องส​ ั้น หนังสือพิมพ์ สารคดี การ์ตูน ฯลฯ ซึ่งอ​ าจจ​ ะไ​มต่​ ้องการค​ วามล​ ึก​
ซึ้ง​ในก​ าร​อ่าน​เท่าใด​นัก อารมณ์แ​ ละ​ความเร็ว​ในก​ าร​อ่าน​ขึ้น​อยู่​กับ​ความพ​ ึง​พอใจข​ องผ​ ู้อ​ ่านเ​ป็นห​ ลัก

               4) 	จ�ำ แนกต​ ามจ​ ดุ ม​ งุ่ ห​ มายเ​ฉพาะแ​ ตล่ ะค​ รงั้ หรอื ต​ ามป​ ระเภทข​ องเ​รอ่ื งห​ รอื ข​ อ้ ความ​
ท​อี่ ่าน ซึ่งจ​ ำ�แนกเ​ป็น 6 ประเภท ได้แก่

                    4.1) 	การ​อ่าน​ข้าม (skimming หรือ reading for gist) เป็นการอ​ ่านแ​ บบ​
คร่าวๆ โดย​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​หรือ​คำ�ถาม​ที่​ต้องการ​คำ�​ตอบ​เฉพาะ​เจาะจง​สำ�หรับ​เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง โดย​ผู้​
อ่าน​รู้จัก​ใช้​ชื่อ​เรื่อง หัวข้อ​ใหญ่ หัวข้อ​ย่อย​ให้​เป็น​ประโยชน์ การ​อ่าน​แบบ​นี้​ช่วย​ให้​รู้จัก​การ​คาด​คะเน
(prediction) การ​เลือกจ​ ับใจค​ วาม ทำ�ให้​สามารถ​อ่านไ​ด้​รวดเร็วข​ ึ้น

                    4.2) 	การ​อ่าน​แบบ​คร่าว (scanning หรือ reading for specific informa-
tion) เพื่อต​ ้องการ​ข้อมูล​เฉพาะ​เจาะจงก​ ว่าก​ ารอ​ ่านข​ ้าม เช่น ตัวเลข สถาน​ที่ ชื่อ​บุคคล​ใน​เรื่อง ดรรชนี
(index) บทโ​ฆษณา

                    4.3) 	การ​อ่าน​แบบ​ค้นคว้า​หา​ราย​ละเอียด (reading for detail) เป็นการ​
อ่านท​ ุกถ​ ้อยคำ� ทุก​ประโยค เพื่อค​ ้นหา​ความค​ ิด​ที่ส​ ำ�คัญเ​กี่ยวก​ ับ​เรื่อง​นั้นๆ โดยต​ ลอด และ​เพื่อ​ศึกษา​
ราย​ละเอียด รวมท​ ั้ง​เพิ่มพูน​ความร​ ู้ ซึ่ง​ต้องอ​ ่านแ​ บบ​รอบคอบ ระมัดระวัง เช่น อ่านจ​ ดหมาย นวนิยาย
เรื่องส​ ั้น สลากย​ า

                    4.4) 	การ​อ่าน​แบบ​ศึกษา (study reading) คือ การอ​ ่านท​ ี่​จะ​ต้องเ​ข้าใจค​ วาม​
คิด​ที่​สำ�คัญ และ​เข้าใจ​ความส​ ัมพันธ์ข​ อง​ความ​คิด​เหล่า​นั้น​เป็น​อย่างด​ ี แล้ว​สามารถจ​ ดจำ�​ไปใ​ช้ได้ การ​
อ่านแ​ บบน​ ี้​ต้องอ​ ่าน​แบบค​ ร่าวๆ เสีย​ก่อน แล้ว​จึง​ใช้ค​ วาม​คิดพ​ ร้อมท​ ั้งต​ ั้ง​คำ�ถามไ​ว้ หลังจ​ ากน​ ั้น​จึงอ​ ่าน​
อย่าง​ตั้งใจ อาจ​จด​บันทึก​และ​ทบทวน​ความ​คิด​ที่​สำ�คัญ​อีก​ครั้ง​หนึ่ง เช่น อ่าน​บทความ บท​อ่าน​เชิง​
วิชาการ

                    4.5) 	การ​อ่าน​เชิง​วิเคราะห์ (analytical reading) หรือ​การ​อ่าน​อย่าง​มี​
วิจารณญาณ เพื่อ​ประเมิน​สิ่ง​ที่​อ่าน และ​ตัดสิน​ใจ​ว่า​สิ่ง​ที่​ผู้​เขียน​นำ�​เสนอ​มี​เหตุผล​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ​หรือ​ไม่
มากน​ ้อยเ​พียงใ​ด เช่น อ่าน​บทความ บทโ​ฆษณา บท​วิจารณ์

                    4.6) 	การ​อ่าน​แบบ​วิจารณ์ (critical reading) เป็นการ​อ่าน​ที่​ต้อง​ใช้​ทักษะ​
การอ​ ่านร​ ะดับส​ ูงสุด คือผ​ ู้อ​ ่านส​ ามารถแ​ สดงค​ วามค​ ิดเ​ห็นต​ ่อส​ ิ่งท​ ี่อ​ ่านไ​ปแ​ ล้ว สามารถใ​ห้เ​หตุผลก​ ับส​ ิ่ง​
ที่ป​ รากฏ​ใน​ข้อเ​ขียน​นั้น​ว่าเ​ห็น​ด้วย​หรือไ​ม่ เช่น อ่านบ​ ทความ บทโ​ฆษณา บท​วิจารณ์
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30