Page 30 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 30

5-20 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

ให้การ​เรียน​รู้​ง่าย​ขึ้น เร็ว​ขึ้น น่า​สนุกสนาน​มาก​ขึ้น เรียน​รู้​ด้วย​ตนเอง​มาก​ขึ้น (more self-directed)
มีป​ ระสิทธิภาพ​มากข​ ึ้น และ​สามารถถ​ ่าย​โอนไ​ป​สู่ส​ ถานการณ์​ใหม่​ได้ม​ ากข​ ึ้น

      - 	 อ๊อ​ กซ์ฟอ​ ร์ด (Oxford, 1992, 1993) นิยาม ‘กลวิธี​การเ​รียนภ​ าษา’ ว่า เป็นการแ​ สดงออก​
เฉพาะด​ ้าน (specific actions) เป็น​พฤติกรรม มี​ขั้น​ตอน หรือ​เทคนิค​ต่างๆ ที่ผ​ ู้​เรียนม​ ัก​จะต​ ั้งใจน​ ำ�​มา​
ใช้เ​พื่อก​ ารพ​ ัฒนาท​ ักษะท​ างภ​ าษาท​ ี่ส​ อง ซึ่งก​ ลวิธีต​ ่างๆ เหล่าน​ ี้ช​ ่วยใ​ห้ผ​ ู้เ​รียนส​ ามารถจ​ ดจำ� สืบค้น และ​
ใช้เ​นื้อหาท​ างภ​ าษาใ​หม่ไ​ด้ รวมท​ ั้งเ​ป็นเ​ครื่องม​ ือส​ ำ�หรับก​ ารเ​รียนร​ ู้ด​ ้วยต​ นเอง (self-directed) ที่จ​ ำ�เป็น​
ต่อก​ าร​พัฒนาค​ วามส​ ามารถใ​นก​ าร​สื่อสาร

      - 	 เล​สสาร์ด​ คลูสต​ ัน (Lessard-Clouston, 1997) กล่าวถ​ ึงส​ ิ่งท​ ี่​น่า​สังเกตเ​กี่ยวก​ ับ​นิยามข​ อง
‘กลวิธี​การ​เรียน​ภาษา’ ว่า​แต่​ก่อน​นั้น​มุ่ง​เน้น​ที่​ผล (product) ของ​กลวิธี​การ​เรียน​ภาษา​ซึ่ง​หมาย​ถึง
ความ​สามารถ​ด้าน​ภาษาศาสตร์ (linguistic competence) และ​ความ​สามารถด​ ้าน​ภาษาศาสตร์​เชิง​
สังคม (sociolinguistic competence) แต่​ปัจจุบัน​มุ่ง​เน้น​ด้าน​กระบวนการ​และ​ลักษณะ​เฉพาะ
(characteristics) ของก​ ลวิธีก​ ารเ​รียน​ภาษาม​ ากข​ ึ้น นอกจาก​นี้​เราค​ วร​ตั้งข​ ้อส​ ังเกต​ด้วย​ว่า ‘กลวิธี​การ​
เรียน​ภาษา’ แตก​ต่าง​จาก ‘ลีลา​การ​เรียน​รู้’ (learning styles) ‘ลีลา​การ​เรียน​รู้’ มี​นิยาม​ที่​กว้าง​กว่า
เพราะ ‘ลีลาก​ ารเ​รียน​รู้’ หมายถ​ ึง​ธรรมชาติ​และ​นิสัย​ของ​ผู้​เรียน​และ​วิธี​การ​ต่างๆ ใน​การ​เรียนท​ ี่ผ​ ู้​เรียน​
ชอบ มักก​ ระทำ�​เป็นป​ ระจำ�​และ​ค่อนข​ ้างจ​ ะค​ งที่

      อ๊อ​ กซ์ฟอ​ ร์ด (Oxford, 1990) จำ�แนกป​ ระเภท​ของ​กลวิธีก​ าร​เรียน​ภาษา​อังกฤษเ​ป็น 2 ประเภท
สรุปไ​ ด้​ดังนี้

      1. 	 กลวธิ ก​ี ารเ​รยี นแ​ บบท​ างต​ รง (direct strategies) เปน็ ก​ ลวธิ ท​ี เี​่ กีย่ วขอ้ งก​ บั ภ​ าษาเ​ปา้ ห​ มายท​ ผี​่ ​ู้
เรียนเ​รียนโ​ดยตรง จำ�แนกเ​ป็น 3 กลวิธยี​ ่อย ได้แก่ กลวิธกี​ ารจ​ ำ� (memory strategies) กลวิธที​ างพ​ ุทธ​ิ
ปัญญา (cognitive strategies) และ​กลวิธี​การ​เรียนแ​ บบท​ ดแทน (compensation strategies)

           1.1 	กลวธิ ก​ี ารจ​ �ำ (memory strategies) เปน็ ก​ ลวธิ ท​ี ผี​่ เู​้ รยี นต​ อ้ งใ​ชก​้ ลไกท​ างส​ มอง ทชี​่ ว่ ยใ​ห​้
ผู้เ​รียนเ​ก็บค​ วามร​ ู้ท​ างภ​ าษาไ​ว้โ​ดยเ​ฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่งเ​รื่องค​ ำ�​ศัพท์ และน​ ำ�​ออกม​ าใ​ช้ได้เ​มื่อต​ ้องการ กลวิธ​ี
การจ​ ำ�​มี​บทบาทส​ ำ�คัญใ​นก​ ารพ​ ัฒนาค​ วามร​ ู้​ต่างๆ เกี่ยวก​ ับภ​ าษา ทำ�ให้ผ​ ู้​เรียนส​ ามารถใ​ช้ภ​ าษาไ​ด้อ​ ย่าง​
อัตโนมัติ กลวิธี​นี้ ได้แก่

               1.1.1 	 การ​เชื่อม​โยง​ความ​คิด (creating mental linkage) เป็นการ​เชื่อม​โยง​ความ​
สัมพันธ์ และ​จัด​เก็บข​ ้อมูล​อย่าง​เป็นร​ ะบบ เช่น การจ​ ัด​กลุ่ม​คำ�​ศัพท์ การ​ใช้​บริบท​ช่วย​จำ�​คำ�​ศัพท์​ใหม่
และ​การนำ�​คำ�​ศัพท์​ใหม่ไ​ปใ​ช้​ในบ​ ริบท

               1.1.2 	 การ​ประยกุ ตใ​์ ชภ้​ าพ​และเ​สียง (applying images and sounds) เป็นการ​เชื่อม​
โยง​คำ�​และ​วลีต​ ่างๆ ด้วย​ภาพแ​ ละเ​สียง เช่น การ​ใช้จ​ ินตนาการ การ​สร้างแ​ ผนภูมิค​ วามห​ มาย การใ​ช้​คำ�​
สำ�คัญ การ​เลียน​เสียง​เพื่อช​ ่วย​จำ�
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35