Page 34 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 34
5-24 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
เรื่องที่ 5.1.3 การเพิ่มป ระสิทธภิ าพก ารเรียนก ารสอนภ าษาองั กฤษ
การส อนไม่ได้ท ำ�ให้เกิดก ารเรียนร ู้เสมอไป ‘การเรียนร ู้’ ไม่ว ่าในเรื่องใด ที่ไหนก ็ตาม ต้องการ
พลัง (energy) และค วามต ั้งใจข องผ ูเ้รียน ไม่มใีครท ีส่ ามารถจ ะเรียนร ู้อ ะไรเพื่อใครห รือเรียนแ ทนใคร
ได้ ผู้เรียนท ุกค นต ้องม ีค วามพ ยายามด ้วยต นเอง ในก ารจ ัดการเรียนก ารส อนอ าจเป็นไปได้ว ่าผ ู้ส อนม ี
ความพยายามต ั้งใจส อน แต่ผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดการเรียนร ู้ แต่ในบ างครั้งผ ู้สอนไม่ได้พ ูดอะไร
มากน ัก แต่ผ ู้เรียนเรียนร ู้ได้ดี (Scrivener, 2009)
การเรียนการสอนที่ดีมีคุณภาพมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับการสอนแบบลึกซึ้ง (deep
approach) (Biggs, 1989; Biggs & Moore, 1993; Bound, Keogh, & Walker, 1985; Entwistle,
1988; Gibbs, 1992; Norton, 2003, cited in Suwankayee, 2008: 30) บิกส์ (Biggs, 1989)
กล่าวว ่า การสอนแ บบลึกซึ้งม ีอ งค์ประกอบที่ส ำ�คัญ 4 ประการ ได้แก่
1. แรงจูงใจ (motivation) คือความคิดและความรู้สึกซึ่งทำ�ให้เราอยากจะทำ�สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
และม คี วามต ้องการท ีจ่ ะก ระทำ�อย่างต อ่ เนื่อง แรงจ งู ใจม คี วามส �ำ คญั ในก ารเรียนภ าษาต ่างป ระเทศม าก
ผู้เรียนสามารถจะเรียนร ู้ได้ด ีท ี่สุดเมื่อได้เรียนในสิ่งท ี่เขาอยากรู้
2. กจิ กรรมการเรยี นร ู้ ผู้เรียนจ ำ�เป็นต ้องต ื่นต ัว (active) มีส ่วนร ่วมในก ารก ิจกรรมก ารเรียน
การส อน ต้องม ีก ารเชื่อมโยงจ ากส ิ่งท ี่ผ ู้เรียนได้เรียนร ู้ม าแ ล้วก ับเรื่องใหม่ท ี่ก ำ�ลังจ ะเรียน ดังน ั้นในก าร
จัดการเรียนก ารส อนแ ต่ละค รั้งจ ะต ้องม ีก ารว างแผนล่วงห น้า
3. การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interactions with others) การปฏิสัมพันธ์มีได้หลายรูปแบบ
เช่น การสอนแ บบบรรยายและก ารจัดสัมมนาแ บบดั้งเดิม (conventional tutorials and seminars)
การทำ�กิจกรรมกลุ่มและการให้ผู้เรียนสอนกันเองก็สามารถที่จะทำ�ให้มีประสิทธิภาพได้ ผลจากการ
ศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนที่ช่วยสอนเพื่อนสามารถเรียนรู้ได้มากกว่าผู้ที่เป็นแต่เพียงผู้เรียน
เท่านั้น ซึ่งเป็นการย ืนยันให้ทราบว ่าการเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือ ‘การสอน’
4. การเรียบเรียงค วามรูไ้ วเ้ ปน็ อย่างด ี (a well structured knowledge base) มีก ารเชื่อมโยง
ความรู้และประสบการณ์เดิมม าเป็นป ระโยชน์ต่อก ารเรียนรู้ และสิ่งใหม่ที่กำ�ลังเรียนรู้ต้องมีการเรียบ
เรียงแ ละบูรณาการเป็นอย่างดี
ฮารเ์ มอ ร์ (2547) กลา่ วว า่ ท ัง้ เดก็ แ ละผ ูใ้ หญท่ ปี่ ระสบผ ลส �ำ เรจ็ ในก ารเรยี นร ภู้ าษาน อกห อ้ งเรยี น
มักจ ะมีป ระสบการณ์ก ารเรียนร ู้ที่เหมือนก ันบางป ระการ ได้แก่
1. มีโอกาสได้ยินได้ฟังและได้เห็นการใช้ภาษา ซึ่งพอจะเข้าใจมากบ้างน้อยบ้างอยู่เสมอ
ถึงแ ม้ว่าจะไม่ส ามารถพ ูดหรือเขียนภาษาแ บบเดียวกันน ั้นได้อย่างคล่องแคล่วในท ันที