Page 35 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 35

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-25

      2. 	 มแ​ี รงจ​ งู ใจ​ท่จ​ี ะ​เรยี นภ​ าษาเ​พื่อก​ ารส​ ือ่ สาร
      3. 	 มี​โอกาส​ที่​จะ​ใช้​ภาษา​ที่​กำ�ลัง​เรียน​รู้ ทำ�ให้​มี​โอกาส​ใน​การ​แสดง​ความ​สามารถ​ทาง​ภาษา​
รวมท​ ั้งต​ รวจ​สอบ​ความ​ก้าวหน้า​และค​ วาม​สามารถข​ อง​ตนเองไ​ด้
      ฮาร์เ​มอ​ ร์ (2547) กล่าวว​ ่า ผู้เ​รียนภ​ าษาใ​นห​ ้องเรียนจ​ ะต​ ้องม​ ีแ​ รงจ​ ูงใจ มีโ​อกาสฟ​ ังแ​ ละเ​ห็นก​ าร​
ใช้​ภาษา​และ​มีโ​อกาส​ใช้ภ​ าษาด​ ้วย จึงจ​ ะ​ช่วยใ​ห้ผ​ ู้​เรียนเ​รียนไ​ด้​ผลด​ ี ดังน​ ั้น Jeremy Harmer ได้เ​สนอ​
องค์ป​ ระกอบท​ ี่​จำ�เป็น​ในก​ ารเ​รียน​ภาษา​เพื่อช​ ่วยใ​ห้​ผู้​เรียน​เรียนไ​ด้​ผล​ดีว​ ่า​มี 3 ประการ โดยเ​รียก​องค​์
ประกอบน​ ี้เ​หล่า​นี้​ว่า ‘ESA’ ได้แก่
      1. 	 การท​ �ำ ใหผ​้ เ​ู้ รยี นส​ นใจแ​ ละอ​ ยากม​ ส​ี ว่ นร​ ว่ ม (engage) โดยก​ ารจ​ ัดก​ ิจกรรมแ​ ละส​ ื่อก​ ารเ​รียน​
การ​สอน​ที่​เหมาะ​สม​กับ​วัย​และ​ความ​สามารถ ซึ่ง​จะ​ทำ�ให้​ผู้​เรียน​สนใจ​และ​อยาก​มี​ส่วน​ร่วม เช่น เกม
ดนตรี การ​อภิปราย เรื่องร​ าว​ที่​ตื่น​เต้น​น่าป​ ระทับ​ใจ เรื่องส​ ั้น​ที่​สนุกสนาน การแ​ สดง​ความค​ ิดเ​ห็น​เกี่ยว​
กับ​หัวข้อเ​รื่อง​ก่อน​อ่าน การเ​ดาอ​ าชีพค​ นใน​ภาพก​ ่อน​ฟัง​เทป
      2. 	 การศ​ ึกษา (study) เป็นก​ ิจกรรมท​ ี่​ผู้​เรียนใ​ห้ค​ วาม​สำ�คัญก​ ับ​ตัวภ​ าษา​หรือค​ วามร​ ู้ท​ างภ​ าษา
และ​ดู​ว่า​โครงสร้าง​ทาง​ภาษา​เป็น​อย่างไร กิจกรรม​นี้​มี​ตั้งแต่​การ​ศึกษา​และ​ฝึกฝน​ออก​เสียง​เสียง​ใด​
เสียง​หนึ่ง​เพียง​เสียง​เดียว​ไป​จนถึง​การ​ศึกษา​ดู​ว่า​ผู้​เขียน​สามารถ​บรรลุ​ผล​ประการ​ใด​ประการ​หนึ่ง​ได้​
อย่างไรใ​น​การเ​ขียนเ​รื่องย​ าว หรือต​ ั้งแต่ก​ ารศ​ ึกษาแ​ ละ​ฝึกฝนก​ าล​ของค​ ำ�​กริยา (verb tense) ไป​จนถึง​
การ​ศึกษา​บทถ​ อดเ​ทปค​ ำ�​ปราศรัย​อย่าง​ไม่​เป็นท​ างการเ​พื่ออ​ ภิปรายก​ ัน​ถึง​ลีลา​ของ​ผู้ก​ ล่าว​คำ�​ปราศรัย
      ผู้​เรียน​อาจ​ศึกษา​ด้วย​วิธี​การ​ที่​แตก​ต่าง​กัน​หลาย​วิธี เช่น ผู้​สอน​อาจ​อธิบาย​กฎ​ไวยากรณ์
ผเู​้ รยี นอ​ าจศ​ กึ ษาข​ อ้ มลู ก​ ารใ​ชภ​้ าษาจ​ นก​ ระทัง่ ค​ น้ พ​ บก​ ฎเ​กณฑท​์ างไ​วยากรณด​์ ว้ ยต​ นเอง หรอื อ​ าจท​ �ำ งาน​
เป็นก​ลุ่ม​โดย​การ​ศึกษา​บท​อ่าน​หรือ​คำ�​ศัพท์ แต่​ไม่​ว่า​วิธี​การ​จะ​เป็น​อย่างไร​การ​ศึกษา​หมายความ​ถึง
ข​ ั้นต​ อน​ใดๆ ก็ตาม​ในก​ าร​เรียน​ที่​การศ​ ึกษา​โครงสร้าง​เป็น​หลัก
      เรื่อง​ที่​ศึกษาโ​ดย​ปกติ​ทั่วไป​บางส​ ่วนอ​ าจ​เป็น​เรื่องต​ ่างๆ ต่อ​ไปน​ ี้

           - 	 การศ​ ึกษาแ​ ละฝ​ ึกฝนก​ ารอ​ อกเ​สียงส​ ระ เสียง​สระใ​นค​ ำ�​ว่า ‘ship’ และ ‘sheep’ เช่น
‘chip’ ‘cheap’ ‘dip’ ‘deep’ ‘bit’ ‘beat’

           - 	 การศ​ ึกษาแ​ ละ​ฝึกฝน​การใ​ช้เ​อกพจน์บ​ ุรุษ​ที่ 3 ใน present simple tense เช่น He
sleeps, She laughs, It works.

           - 	 การ​ศึกษาแ​ ละ​ฝึกฝน​รูปป​ ระโยค​ที่ใ​ช้​สำ�หรับ​การ​เชิญ​ชวน เช่น Would you like to
come to the cinema/a concert?

           - 	 การ​ศึกษา​และ​ฝึกฝน​วิธี​การ​ใช้​คำ�​สรรพนาม​ใน​การ​เขียน เช่น A man entered a
house in Brixton. He was tall with an unusual hat. It was multicoloured.

           - 	 การ​ศึกษา​และ​ฝึกฝน​เกี่ยว​กับ​โครงสร้าง​ของ​เรียง​ความ​ระดับ​ย่อหน้า ได้แก่ topic
sentence, development, conclusion

           - 	 การ​ศึกษา​และฝ​ ึกฝน​การ​ใช้ค​ ำ� ‘make’ ‘do’
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40