Page 26 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 26

5-16 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

           การอ​ ่านจ​ ะป​ ระสบ​ผลส​ ำ�เร็จไ​ด้น​ ั้น ผู้​อ่านจ​ ะต​ ้องม​ ีค​ วามส​ ามารถด​ ้านต​ ่างๆ ซึ่ง​ต้องอ​ าศัย​
องค์ป​ ระกอบ​หลาย​ด้านด​ ังท​ ี่น​ ัก​วิชาการไ​ด้​กล่าวไ​ว้ ดังนี้

           โคดิ (Coady, 1979 อ้างถ​ ึงใ​น บัณฑิต ฉัตร​วิโรจน์, ม.ป.ป.) กล่าว​ว่า การอ​ ่านเ​ป็นการ​
ปฏิสัมพันธ์​ระหว่าง​องค์​ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่

               1) 	ความส​ ามารถเ​ชงิ ​มโน​ทัศน์ (conceptual ability) หมาย​ถึง ความส​ ามารถ​ทางส​ ต​ิ
ปัญญาโ​ดยท​ ั่วไป​ที่จ​ ะค​ ้นหาส​ าระ​สำ�คัญ ความ​คิด​และค​ วามค​ ิด​เห็นจ​ ากเ​รื่องท​ ี่อ​ ่านไ​ด้

               2) 	ความร​ เ​ู้ ดมิ (background knowledge) เปน็ พ​ ืน้ ค​ วามร​ ูข้​ องผ​ ูอ​้ า่ นท​ ีม​่ อี​ ยูแ​่ ลว้ ผูอ​้ า่ น​
จะอ​ ่านไ​ด้เ​ร็วข​ ึ้นแ​ ละไ​ด้ผ​ ลด​ ีข​ ึ้นถ​ ้าผ​ ู้อ​ ่านม​ ีว​ ัฒนธรรมค​ ล้ายคลึงก​ ับว​ ัฒนธรรมข​ องเ​จ้าของภ​ าษาท​ ี่เ​ขียน
การอ​ ่านเ​รื่องท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่านค​ ุ้นเ​คยแ​ ละเ​รื่องท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับก​ ิจกรรมท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่านป​ ฏิบัติใ​นช​ ีวิตป​ ระจำ�​วันจ​ ะช​ ่วยใ​ห​้
ผู้อ​ ่านป​ ระสบ​ผล​สำ�เร็จใ​น​เรื่องท​ ี่อ​ ่าน​มาก​ขึ้น

               3) 	กลวิธี​ด้าน​กระบวนการ (process strategies) เป็น​องค์​ประกอบ​ย่อย​ของ​ความ​
สามารถ​ใน​การ​อ่าน​และ​เป็น​หนทาง​ที่​จะ​นำ�​ไป​สู่​ความ​เข้าใจ เป็น​ทักษะ​ทาง​ด้าน​ภาษา​ทั่วๆ ไป ได้แก่
การห​ าความ​หมาย​ของส​ ัญลักษณ์ท​ ี่​เขียน การ​รวม​เสียง​และค​ วามเ​ข้าใจเ​ข้า​ด้วยก​ ัน และค​ วามเ​ข้าใจใ​น​
สิ่ง​ที่​อ่าน

           วิล​เลียม​ส์ (Williams, 1986 อ้าง​ถึง​ใน บัณฑิต ฉัตร​วิโรจน์, ม.ป.ป.) กล่าว​ถึง​องค์​
ประกอบ​สำ�คัญท​ ี่ช​ ่วย​ให้การ​อ่านม​ ีป​ ระสิทธิภาพ ดังนี้

               1) 	ความร​ ​ใู้ น​ระบบก​ าร​เขียน (knowledge of the writing system) ผู้​อ่าน​จะ​ต้อง​คุ้น​
เคยก​ ับร​ ะบบก​ ารผ​ สมต​ ัวอ​ ักษร การส​ ะกดค​ ำ� ซึ่งส​ ิ่งเ​หล่าน​ ีจ้​ ะช​ ่วยใ​หผ้​ ูอ้​ ่านจ​ ำ�​คำ�​และโ​ครงสร้างก​ ารเ​ขียน​
ได้ด​ ี​ขึ้น

               2) 	ความร​ ​เู้ ร่ืองภ​ าษา (knowledge of language) ผู้​อ่านท​ ี่​ประสบค​ วามส​ ำ�เร็จ​ใน​การ​
อ่านจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​มีค​ วามร​ ู้ใ​น​เรื่องร​ ูป​แบบข​ องค​ ำ� ความ​หมายข​ องค​ ำ� โครงสร้างแ​ ละไ​วยากรณ์​ของ​ภาษา​
ที่ใ​ ช้เ​ขียน

               3) 	ความส​ ามารถใ​นก​ ารต​ คี วาม(abilityof interpret) ผอู​้ า่ นต​ อ้ งส​ ามารถร​ จู​้ ดุ ป​ ระสงค​์
ของ​ข้อความ รู้​วิธี​การ​เรียบ​เรียง​ประโยค​เป็น​ข้อความ​ที่​ต่อ​เนื่อง​กัน และ​เข้าใจ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​
ประโยค

               4) 	ความร​ ​รู้ อบ​ตวั (knowledge of the world) ผู้อ​ ่านค​ วร​นำ�​ความ​รู้ร​ อบต​ ัวร​ วม​ทั้ง​
ประสบการณ์ต​ ่างๆ เข้าม​ าเ​ชื่อมโ​ยงด​ ้วย​ใน​ขณะท​ ี่​อ่าน ยิ่งผ​ ู้​อ่านม​ ี​ความ​รู้​และ​ประสบการณ์ม​ าก​ก็จ​ ะ​ยิ่ง​
ช่วยใ​ห้​ผู้อ​ ่าน​เข้าใจเ​รื่องท​ ี่อ​ ่านไ​ด้​มาก​ขึ้น

      สรุป​ได้ว​ ่า องค์​ประกอบ​หลักท​ ี่​ส่ง​เสร​ ิมส​ ัมฤ​ทธิผ​ ลใ​น​การอ​ ่าน ได้แก่ ความ​รู้ใ​นเ​ชิง​คำ�​ศัพท์​และ​
ตัว​อักษร ความร​ ู้เ​ชิงก​ ระบวนการอ​ ่าน รวมท​ ั้งค​ วาม​รู้แ​ ละ​ประสบการณ์​เดิม​ของ​ผู้​อ่าน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31