Page 24 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 24

5-14 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

ตรงก​ ันต​ ามจ​ ุดม​ ุ่งห​ มายท​ ีผ่​ ูเ้​ขียนก​ ำ�หนดไ​วเ้​พื่อใ​หผ้​ ูอ้​ ่านแ​ สดงออกม​ าเ​ป็นส​ าระค​ วามร​ ู้ ความท​ รงจ​ ำ�​จาก​
การ​อ่าน ดัง​นั้นจ​ ึงม​ ีผ​ ู้จ​ ำ�แนกป​ ระเภท​ของ​การ​อ่าน​ไว้​ต่างๆ กัน ดัง​ต่อไ​ป​นี้

               1) 	จ�ำ แนกต​ ามส​ ถาน​ที​ท่ ่ี​อ่าน มี 2 ประเภท ได้แก่
                    1.1)	การอ​ า่ นใ​นช​ ั้นเ​รียน (intensive reading) เป็นการอ​ ่านโ​ดยล​ ะเอยี ดเ​พือ่ ​

ใหเ้​ข้าใจเ​นื้อเ​รื่องโ​ดยต​ ลอด มกี​ ารเ​รียนร​ ูค้​ ำ�​ศัพทแ์​ ละไ​วยากรณต์​ ่างๆ ใหผ้​ ูเ้​รียนส​ ามารถน​ ำ�​คำ�​ศัพทแ์​ ละ​
ไวยากรณ์ไ​ ป​ใช้ได้

                    1.2)	การ​อ่านน​ อก​ชั้น​เรียน (extensive reading) เป็นการ​อ่าน​ที่​นำ�​เอา​หลัก​
และว​ ิธี​การ​อ่าน​ที่​เรียนร​ ู้​จากช​ ั้น​เรียนไ​ป​ใช้​จริง โดย​ไม่มี​ครู​ช่วย​แนะนำ�​อย่าง​ใกล้ช​ ิด เพื่อเ​ป็นการส​ ร้าง​
ประสบการณ์ใ​น​การอ​ ่าน มุ่ง​ให้​เข้าใจเ​นื้อเ​รื่องเ​ท่านั้น ไม่​จำ�เป็น​ต้องศ​ ึกษาร​ าย​ละเอียด หรือ​นำ�​คำ�​ศัพท​์
และไ​ วยากรณ์​ไป​ใช้

               2) 	จำ�แนก​ตามว​ ิธี​การ​อ่าน มี 2 ประเภท ได้แก่
                    2.1) 	การ​อ่าน​ใน​ใจ (silent reading) เป็นการ​อ่าน​โดย​ไม่มี​การ​ออก​เสียง

มุ่งใ​ห้เ​ข้าใจ​เรื่อง​และค​ วาม​คิด​ที่​สำ�คัญใ​น​เรื่อง​ที่อ​ ่าน ผู้​เรียนจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ได้ร​ ับก​ าร​ฝึกฝน​ทักษะ​การอ​ ่าน​
เป็นอ​ ย่าง​ดี จึง​จะ​เกิด​ทักษะแ​ ละก​ ระบวนการ ที่​จะน​ ำ�​ไปส​ ู่​ความ​เข้าใจใ​น​สาระ​ที่​อ่าน

                    2.2) 	การอ​ ่านอ​ อก​เสียง (oral reading) เป็นการม​ ุ่งเ​น้นก​ าร​อ่านอ​ อก​เสียง​ให​้
ถูก​ต้อง การอ​ อกเ​สียง​เน้น​หนักใ​นค​ ำ� วลี และ​ระดับเ​สียงส​ ูง​ตํ่าใ​นป​ ระโยค ซึ่งอ​ าจ​มี​การ​อ่าน​ในใ​จ​ก่อน​
เพื่อ​จะไ​ด้​เข้าใจเ​รื่อง​ราวต​ ่างๆ

               3) 	จ�ำ แนกต​ ามค​ วามส​ �ำ คญั ​ของ​และจ​ ุดม​ ุ่ง​หมาย​ในก​ าร​อ่าน ซึ่งจ​ ำ�แนก​อย่าง​ กว​ ้างๆ
เป็น 4 ประเภท ได้แก่

                    3.1) 	การ​อ่าน​สิ่ง​ต่างๆ ที่​เป็น​ข้อมูล​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ชีวิต​ประจำ�​วัน (reading
for practical purposes) ซึ่ง​มัก​จะ​มี​การนำ�​เสนอ​ข้อ​เท็จ​จริง​ที่​ตรง​ไป​ตรง​มา​เป็น​ส่วน​ใหญ่ เช่น
ป้ายต​ ่างๆ สลากย​ า คำ�​สั่ง เอกสาร หนังสือพิมพ์

                    3.2) 	การ​อ่าน​ข้อมูล​หรือ​เรื่อง​ราว​ต่างๆ เพื่อ​เพิ่มพูน​ความ​รู้ (reading for
general knowledge) เป็นการ​เสริม​ประสบการณ์ และเ​สริมโ​ลก​ทัศน์ การ​อ่านบ​ ท​อ่านป​ ระเภท​นี้​อาจ​
จะ​ต้อง​มี​การ​เปรียบ​เทียบ​ไป​ด้วย​จึง​จะ​ทำ�ให้​เข้าใจ​และ​เห็น​ภาพ​ได้​ดี​ขึ้น หาก​เรื่อง​ที่​อ่าน​เป็น​เหตุการณ์​
หรือ​เรื่องร​ าว​ต่างๆ ของบ​ ุคคล สังคมแ​ ละ​การเมือง ผู้อ​ ่านค​ วร​ทำ�ใจใ​ห้​เป็นกล​ าง ไม่เ​อนเ​อียง​ไป​ตาม​ที​่
ผู้​เขียน​นำ�​เสนอ ควร​ตระหนักเ​สมอว​ ่าการอ​ ่าน​ประเภท​นี้เ​ป็นการ​อ่าน​เพื่อ​จะไ​ด้ร​ ู้​อะไร​บ้างจ​ าก​ที่ผ​ ู้เ​ขียน​
นำ�​เสนอ และ​มีค​ วามเ​ข้าใจ​อย่างไรบ​ ้างจ​ ึง​จะท​ ำ�ให้​การ​อ่านป​ ระสบผ​ ลส​ ำ�เร็จ​มาก​ขึ้น

                    3.3) 	การอ​ ่านเ​พื่อ​วัตถุประสงค์เ​ชิง​วิชาการ (reading for academic pur-
poses) เป็นการ​อ่านเ​พื่อ​การศ​ ึกษา​ค้นคว้า มีจ​ ุด​มุ่งห​ มาย​ที่​สำ�คัญ​คือ ต้องการ​อ่านใ​ห้​ครอบคลุม​เนื้อหา​
ให้ไ​ด้​มากท​ ี่สุด​เท่า​ที่จ​ ะก​ ระทำ�​ได้ เก็บร​ าย​ละเอียดป​ ลีกย​ ่อย เนื้อหาย​ ่อย ด้วย​ความ​ระมัดระวัง ในข​ ณะ​
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29