Page 27 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 27

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-17

      2. 	 ทกั ษะก​ ารส​ ง่ ส​ าร (productive skills) ได้แก่ การพ​ ูด และก​ ารเ​ขียน ทักษะใ​นก​ ารส​ ่งส​ ารเ​ป็น​
ทักษะท​ ีย่​ ากแ​ ละซ​ ับซ​ ้อนก​ ว่าท​ ักษะก​ ารร​ ับส​ ารเ​พราะผ​ ูพ้​ ูดต​ ้องใ​ชค้​ วามค​ ิดเ​ชิงว​ ิเคราะห์ จำ�แนกแ​ ยกแยะ​
และ​เลือกใ​ช้​ภาษาเ​พื่อส​ ื่อ​ความ​ให้ผ​ ู้ฟ​ ัง​หรือ​ผู้อ​ ่านเ​ข้าใจ

           2.1 	ทกั ษะก​ าร​พูด บทความ​แนะแนวก​ ารศ​ ึกษา (2554) ได้​สรุป​ทักษะ​การ​พูดว​ ่า การ​พูด
​เป็น​พฤติกรรม​ด้าน​การ​แสดงออก เนื่องจาก​คน​ไทย​มิใช่​ชนชาติ​ที่​ใช้​ภาษา​อังกฤษ​ใน​ชีวิตประจำ�​วัน
ทักษะ​การ​พูด​ภาษา​อังกฤษ​จึง​ดู​เหมือน​ค่อน​ข้าง​ยาก​ใน​การ​ออก​เสียง สำ�เนียง​ให้​ถูก​ต้อง แต่​หาก​หมั่น​
ฝึก​อยู่​บ่อยๆ ก็​อาจสามารถ​ทำ�ได้​ดี​เช่น​เดียวกัน ถึง​แม้ว่า​จะ​ออก​เสียง​ผิด​เพี้ยน​ไป​บ้าง ผู้​เรียน​ก็​ควร​
ให้​ความ​สำ�คัญ พยายาม​สื่อสาร​ให้​ได้​ความ​หมาย​มาก​ที่สุด องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ​นอกจาก​เสียง​หรือ​
สำ�เนียง​แล้ว ได้แก่ คำ�​ศัพท์ ไวยากรณ์ ความ​สัมพันธ์ร​ ะหว่างป​ ระโยค ตลอด​จน​การ​ใช้ก​ ิริยา ท่าทาง​
ประกอบใ​นก​ าร​สื่อสาร

           การ​พูดเ​ป็นการ​สื่อสารแ​ บบ 2 ทาง​เป็นการ​ปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่าง​ผู้พ​ ูดแ​ ละ​
ผู้ฟ​ ัง ซึ่งอ​ าจใ​ช้​ทั้ง​วัจ​นภาษ​ า หรือภ​ าษา​พูด (verbal) ควบคู่ก​ ัน​ไปก​ ับอ​ วัจน​ ภา​ษา (nonverbal) โดย​ใช้​
กลวิธีต​ ่างๆ เช่น การ​แสดงออกด​ ้วย​สีหน้า ท่าทาง การ​สบตา (eye contact) การ​ขยายค​ วาม การท​ ำ�​
ข้อความใ​ห้​กระจ่าง (เช่น what I mean is…; in other words; that is to say..) ถาม​เพื่อ​ตรวจ​
สอบค​ วาม​เข้าใจ/ต้องการ​คำ�​ยืนยัน (เช่น Understand? OK?)

           บาร์​ท (Bart, 1979 อ้างถ​ ึงใ​น สำ�นักท​ ดสอบท​ างการศ​ ึกษา 2537) กล่าวว​ ่า ทักษะก​ าร​
พูดเ​ป็น​ทักษะท​ ี่​ซับ​ซ้อน มี​องค์​ประกอบ 5 ประการ ได้แก่

               1) 	ความ​คล่องแคล่ว (fluency)
               2) 	ความ​สามารถ​ในก​ าร​พูด​ให้​ผู้อ​ ื่น​เข้าใจ (comprehensibility)
               3) 	ปริมาณข​ องข​ ้อมูลท​ ี่ส​ ื่อสาร​ได้ (amount of communication)
               4) 	คุณภาพข​ องข​ ้อความ​ที่​สามารถ​นำ�​มา​สื่อสาร (quality of communication)
               5) 	ความพ​ ยายาม​ใน​การ​สื่อสาร (effort to communicate)
               การ​ที่​จะ​ให้​ผู้​เรียน​มี​สมรรถนะ​ใน​การ​ใช้​ภาษา​เพื่อ​การ​สื่อสาร (communicative
competence) นั้น ผู้​เรียนต​ ้องส​ ามารถ​ใช้​ภาษา​ในก​ ารป​ ฏิสัมพันธ์​กับผ​ ู้​อื่น​ตามส​ ถานการณ์แ​ ละบ​ ริบท​
ต่างๆ และ​ต้อง​เข้าใจ​วัฒนธรรม​ของ​เจ้าของ​ภาษา​ด้วย ดัง​นั้น​ผู้​เรียน​จึง​ต้อง​มี​สมรรถนะ​เพิ่ม​ขึ้น​อีก 3
ด้านด​ ังต​ ่อ​ไปน​ ี้

                    5.1)	 สมรรถนะใ​นก​ ารใ​ชภ​้ าษาต​ ามค​ วามเ​หมาะส​ มท​ างส​ งั คม (sociolinguis-
tic competence) หมาย​ถึง ความส​ ามารถใ​น​การใ​ช้​ภาษา​ได้​อย่างถ​ ูก​ต้อง เหมาะ​สม​ตาม​สถานการณ์
บริบท ระดับ (register) เช่น การใ​ช้​ภาษาอ​ ย่างเ​ป็นท​ างการ (formal) หรือไ​ม่เ​ป็นท​ างการ (informal)

                    5.2) 	สมรรถนะใ​นก​ ารใ​ชก​้ ลวธิ ก​ี ารส​ อื่ สาร(strategiccompetence)หมายถ​ งึ ​
ความ​สามารถ​ใน​การ​ใช้​กลวิธี​ต่างๆ เพื่อ​การ​สื่อสาร​ได้​ตรง​ตาม​จุด​ประสงค์​ของ​ผู้​พูด เช่น การ​ถอด​
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32