Page 28 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 28
5-18 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
ความห รือการใช้สำ�นวนใหม่ (paraphrase) โดยการใช้ค ำ�ใกล้เคียง การขยายค วาม การแสดงท่าทาง
ประกอบก ารสนทนา
5.3) สมรรถนะในด้านการใช้คำ�สัมพันธ์ความ (discourse competence)
หมายถ ึง ค วามส ามารถในการเชื่อมโยงส ่วนต่างๆ ของคำ� วลี และประโยคให้สัมพันธ์ก ันและสื่อค วาม
ได้ ซึ่งม ี 2 ลักษณะ ได้แก่
ความส ัมพันธร์ ะหว่างส ่วนป ระกอบข องป ระโยค (cohesion) โดยใช้ค ำ�ศัพท์
และไวยากรณห์ รือโครงสร้างท างภ าษาไดอ้ ย่างถ ูกต ้องแ ละเหมาะส มก ับบ ริบท เช่น “Is John studying
here?” “Yes, he is.” มีการสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงค วามระหว่างคำ�ว่า John กับ he และ is studying
กับ is
- ความส ัมพันธ์ท ี่เชื่อมโยงค วามห มายข องคำ�พูด ซึ่งอาจเกี่ยวข้องสัมพันธ์
กับค วามร ู้ หรือภูมิหลังท ี่คู่สนทนาทราบ เช่น “Could you give me a lift to school?” “Sorry, I’m
going back home.” เป็นการบอกให้ท ราบว ่าโรงเรียนและบ้านไปก ันค นละท าง (หรือโรงเรียนอ าจจะ
อยู่ไกลก ว่า) จึงไม่สามารถที่จ ะรับให้ข ึ้นร ถไปด้วยก ันได้
2.2 ทักษะการเขียน ในการเขียนแต่ละครั้งผู้เขียนต้องมีข้อความ และบุคคลที่ผู้เขียน
ต้องการจะส่ือความด้วย ผู้เขียนจำ�เป็นต้องเขียนตัวอักษรได้ มีความสามารถในการสะกดคำ�
แตง่ ป ระโยค และเรยี บเรยี งถ อ้ ยค�ำ ดงั น ัน้ ท กั ษะก ารเขยี นจ งึ เปน็ ท กั ษะท ตี่ อ้ งผ า่ นก ระบวนการท างค วาม
คิดห ลายข ัน้ ต อน เริม่ ต ัง้ แตก่ ารร วบรวมค วามค ิด การล ำ�ดับเรื่อง และเลือกสรรถ ้อยคำ�ในก ารถ ่ายทอด
ออกมาเป็นข้อความที่สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามความต้องการ ทักษะการเขียนต้องอาศัย
ความเข้าใจร ูปแ บบข องภ าษาอย่างถูกต้อง รู้คำ�ศัพท์ สำ�นวน ไวยากรณ์ และรูปแบบของประโยคเช่น
เดียวก ับท ักษะอ ื่นๆ ผู้เรียนต ้องห มั่นฝ ึกฝน นอกจากน ี้ก ารเขียนแ ละก ารอ ่านเป็นท ักษะท ี่เชื่อมโยงก ัน
หากผ ู้เรียนมีประสบการณ์ในก ารอ่านมาก ก็จ ะได้รูปแบบ วิธีเขียน แนวคิดในการส ื่อสารของผู้เขียน
ซึ่งจะช่วยให้ม ีแ บบอ ย่างส ำ�หรับการเขียนของต นเองม ากขึ้น
ไรม์ (Raimes, 1983) กล่าวถึงอ งคป์ ระกอบในก ารส อนเขียนว ่าม สี าระส ำ�คัญ 9 ประการ
ดังนี้
1) เนือ้ หา (content) สือ่ ค วามห มายไดต้ รงจ ุดต รงป ระเด็น มคี วามก ระจ่าง มคี วาม
คิดริเริ่ม และมีเหตุผล
2) กระบวนการเขียนของผู้เขียน ( the writer’s process) ได้แก่ การรวบรวม
ความค ิด การเริ่มทำ�การเขียน การเขียนร่าง และการท บทวน
3) การคำ�นึงถ ึงผ ู้อ ่าน
4) วัตถุประสงค์ในการเขียน
5) การเลือกใช้คำ� ได้แก่ คำ�ศัพท์ สำ�นวน และค ำ�ที่แสดงความร ู้สึก