Page 16 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 16

4-6 การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพสำ�หรับผู้นำ�ทางการศึกษา

       นอกจากน​ ี้​ยังม​ ีน​ ักว​ ิชาการ ได้​ให้ค​ วาม​หมาย​ของ​มนุษยสัมพันธ์​ไว้อ​ ีก พอ​สรุป​ได้​ดังนี้
       ธรรมร​ ส โชติก​ ุญชร (2524: 6) ให้ค​ วามห​ มายข​ องม​ นุษยสัมพันธ์โ​ดยท​ ั่วไปว​ ่า เป็นว​ ิชาว​ ่าด​ ้วยศ​ าสตร​์
และ​ศิลปะใ​นก​ าร​เสริม​สร้างค​ วาม​สัมพันธ์อ​ ัน​ดีก​ ับ​บุคคล เพื่อ​ให้​ได้​มาซ​ ึ่งค​ วาม​รักใ​คร่​นับถือ ความจ​ งรักภ​ ักด​ี
และ​ความ​ร่วมม​ ือ
       เดวิด คีท (David Keith, 1977) ให้​ความห​ มายว​ ่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถ​ ึง กระบวนการจ​ ูงใจ​ของ​
บคุ คลใ​หม​้ ค​ี วามพ​ อใจต​ อ่ ก​ นั มนษุ ยส​์ มั พนั ธ์ จงึ เ​ปน็ ท​ ัง้ ศ​ าสตรแ​์ ละศ​ ลิ ปะเพือ่ ใ​ชใ​้ นก​ ารเ​สรมิ ส​ รา้ งค​ วามส​ มั พนั ธ​์
อันด​ ีก​ ับบ​ ุคคล การ​ยอมรับ​นับถือ การ​ให้ค​ วาม​ร่วม​มือ และ​การใ​ห้ค​ วาม​จงรักภ​ ักดี​ในก​ ารต​ ิดต่อส​ ัมพันธ์​กัน​
ระหว่าง​บุคคล​ต่อ​บุคคล​ตลอด​จน​องค์กรต​ ่ออ​ งค์กร
       แลม​เบอร์ต​ ัน และไ​มเนอร์ (Lamberton and Minor, 2010) ให้ค​ วามห​ มายว​ ่า มนุษยสัมพันธ์​เป็น​
ทักษะ​หรือค​ วามส​ ามารถใ​น​การ​ทำ�งาน​ที่​สัมฤทธิ์ผ​ ล​ร่วม​กับบ​ ุคคล​อื่น โดยไ​ด้​ขยาย​ความว​ ่าใ​น​ชีวิตข​ อง​คน​เรา​
จะ​ต้อง​ติดต่อ​สัมพันธ์​กับ​คน​อื่น​ทั้ง​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​และ​การ​ทำ�งาน ความ​สัมพันธ์​กับ​คน​อื่น​ดัง​กล่าว​นี้ คือ​
สิ่ง​ที่​ชี้ขาด​ว่า​เรา​จะ​ประสบ​ผลส​ ำ�เร็จ​หรือล​ ้ม​เหลว​ในช​ ีวิต​และก​ ารท​ ำ�งาน
       อำ�นวย แสงส​ ว่าง ( 2544: 99) กล่าว​ว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถ​ ึง การแ​ สวงหาว​ ิธีก​ ารท​ ำ�ความเ​ข้าใจ​
โดยก​ ารใ​ชร้​ ูปแ​ บบก​ ารต​ ิดต่อส​ ัมพันธก์​ ันร​ ะหว่างบ​ ุคคลอ​ ันเ​ป็นผ​ ลก​ ่อใ​หเ้​กิดค​ วามเ​ชื่อมโ​ยงเ​พื่อใ​หไ้​ดผ้​ ลส​ ำ�เร็จ​
ตามเ​ป้าห​ มายข​ อง​องค์การต​ าม​ที่ไ​ด้​กำ�หนด​ไว้
       สรุป​ได้​ว่า มนุษยสัมพันธ์ หมาย​ถึง กระบวนการ​จูงใจ​ของ​บุคคล​ที่​ใช้​ศิลปะ​สร้าง​ความ​พึง​พอใจ
รักใ​คร่ ความเ​ชื่อถ​ ือศ​ รัทธา โดยแ​ สดงพ​ ฤติกรรมอ​ ย่างเ​หมาะส​ มเ​พื่อโ​น้มน​ ้าวจ​ ูงใจใ​ห้เ​กิดค​ วามร​ ่วมม​ ือร​ ่วมใจ​
ใน​อัน​ที่​จะ​บรรลุ​ผล​สำ�เร็จท​ ี่พ​ ึงป​ ระสงค์

แนวคิดพ​ ้นื ​ฐาน​ของม​ นุษยสมั พนั ธ์

       เรียม ศรีท​ อง (2542: 216-218) ได้​กล่าว​ถึงแ​ นวคิด​พื้น​ฐาน​ของม​ นุษยสัมพันธ์​ไว้ด​ ังนี้
       1. 	 มนุษย์​ทุก​คน​มี​คุณค่า​แห่ง​ความ​เป็น​คน​เท่า​เทียม​กัน ไม่​เลือก​เพศ วัย วรรณะ การ​ศึกษา ฐานะ​
เศรษฐกิจ และ​ฐานะ​ทาง​สังคม มนุษย์​ทุก​คน​รัก​ชีวิต มนุษย์​ต้องการ​ติดต่อ​เกี่ยวข้อง​กัน​ฉันท์​มิตร มี​ความ​
ปรารถนา​ดี​และ​ต้องการ​การ​ปฏิบัติ​จาก​ผู้​อื่น​อย่าง​มี​เกียรติ ต้องการ​เป็น​คน​ที่​มี​คุณค่า​และ​มี​ความ​สำ�คัญ
การ​ใช้อ​ ำ�นาจห​ รือ​พลังจ​ ากภ​ ายนอก​มา​ข่มขู่บังคับบ​ ุคคล​มิใช่​พฤติกรรมท​ ี่​ให้การ​ยอมรับ​และใ​ห้​เกียรติก​ ัน
       2.	 มนษุ ยเ​์ กย่ี วขอ้ งก​ บั ค​ วามต​ อ้ งการไ​ มส​่ นิ้ ส​ ดุ เมือ่ ม​ นษุ ยไ​์ ดร​้ บั ก​ ารต​ อบส​ นองใ​นร​ ะดบั ห​ นึง่ ก​ ย​็ อ่ มก​ อ่ ​
ใหเ้​กิดค​ วามส​ ัมพันธอ์​ ันด​ ตี​ ่อก​ ันใ​นร​ ะดับห​ นึ่งเ​ช่นก​ ัน ในร​ ะหว่างค​ วามต​ ้องการท​ างด​ ้านว​ ัตถกุ​ ับจ​ ิตใจ แม้ว่าบ​ าง​
ครั้งม​ ีค​ วามส​ มบูรณ์ท​ าง​ด้าน​วัตถุ แต่ก​ ็​มิได้​เป็น​เครื่อง​บ่งช​ ี้​ว่า ความต​ ้องการ​ทางด​ ้านจ​ ิตใจ​จะส​ มบูรณ์​ไป​ด้วย
ฉะนั้น ถ้าส​ ามารถ​รักษาด​ ุล​ของค​ วาม​สมบูรณ์ด​ ้าน​วัตถุก​ ับจ​ ิตใจ​ได้​ย่อม​ส่ง​ผล​ถึง​การอ​ ยู่​ได้​อย่าง​ปกติ​สุข
       3.	 มนษุ ยเ​์ ปน็ เ​พอ่ื นร​ ว่ มท​ กุ ขท​์ ต​ี่ อ้ งม​ ช​ี วี ติ เ​รยี บง​ า่ ยใ​นส​ งั สารวฏั ใ​นเ​วลาย​ าวนาน ฉะนัน้ ก​ ารแ​ สดงออก​
ซึ่งค​ วามเ​มตตา​ต่อก​ ัน โดย​ไม่จ​ ำ�กัด​พรมแดน จะ​นำ�​มา​ซึ่ง​การอ​ ยู่​ร่วมก​ ัน​อย่าง​ไม่​เบียดเบียน​กัน เป็นท​ างน​ ำ�​ไป​
สู่ส​ ันติสุขร​ ่วมก​ ัน ความ​สงบส​ ุขข​ องส​ ังคม​ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับค​ วามส​ ามารถ​ของม​ นุษย์​ในก​ าร​แสดงค​ วามเ​มตตาต​ ่อ​กัน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21