Page 17 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 17

มนุษยสัมพันธ์แ​ ละก​ ารพ​ ัฒนา​ทีมง​ าน 4-7

       ดัง​นั้น การ​ที่​จะ​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​กับ​คน​อื่น​ได้​นั้น เรา​ควร​จะ​ได้​เรียน​รู้​ถึง​ธรรมชาติ​ความ​
ต้องการข​ องค​ นโ​ดยท​ ั่วไปเ​สียก​ ่อน ถ้าห​ ากเ​ราต​ ้องการจ​ ะท​ ำ�ให้เ​ขาเ​กิดค​ วามพ​ ึงพ​ อใจก​ ็ค​ วรจ​ ะท​ ำ�​ในส​ ิ่งท​ ี่บ​ ุคคล​
อื่น​ต้องการ การ​ที่​จะ​ให้​หรือ​ทำ�​อะไร​แก่​คน​อื่น​โดยที่​เขา​ไม่​ต้องการ ก็​อาจ​จะ​ไม่​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​สัมพันธ์​ที่​ดี​
ขึ้น​ได้ เพราะ​มนุษยสัมพันธ์​มี​หลัก​การ​ใหญ่​อยู่​ที่​การ​ครอง​ใจ​คน การ​ทำ�ให้​คน​เป็น​มิตร การ​เข้า​ถึง​จิตใจ​และ​
การแ​ สดง​เมตตา​ต่อ​กัน

       พรรณ​ทิพย์ ศิริว​ รรณบ​ ุศย์ (2550) กล่าว​ว่า การจ​ ะ​สร้างม​ นุษยสัมพันธ์​ให้เ​กิด​ขึ้น​ใน​องค์การ จะ​ต้อง​
คำ�นึง​ถึงองค์ป​ ระกอบ​ของ​มนุษยสัมพันธ์ 3 ประการ​ด้วยก​ ัน ได้แก่ การร​ ู้จัก​ตน การเ​ข้าใจเ​พื่อน​ร่วมง​ าน และ​
สิ่ง​แวดล้อมใ​นก​ ารท​ ำ�งาน​ที่​ดี กล่าวค​ ือ

       1. 	 ในเ​รอ่ื งข​ องก​ ารร​ จู้ กั ต​ นน​ น้ั   บคุ คลค​ วรต​ อ้ งว​ เิ คราะหต​์ น เพือ่ ใ​หร​้ ูจ้ กั ต​ วั เ​องอ​ ยา่ งแ​ ทจ้ รงิ ท​ ัง้ ล​ กั ษณะ​
ที่​ดีแ​ ละ​ไม่​ดี แล้ว​ปรับปรุง​ตน ในส​ ่วน​ที่​เป็น​ลักษณะท​ ี่​ไม่​ดี​ซึ่งอ​ าจ​สร้างป​ ัญหาแ​ ละ​อุปสรรคใ​น​การท​ ำ�งาน และ​
การส​ ร้าง​สัมพันธ์​กับ​ผู้อ​ ื่น

       2. 	 การ​เข้าใจ​เพื่อน​ร่วม​งาน เป็นการ​วิเคราะห์​เพื่อน​ร่วม​งาน และ​ทำ�ความ​เข้าใจ​เพื่อน​ร่วม​งาน
อันเ​ป็นการ​ช่วย​ให้เ​กิดก​ าร​ยอมรับ​ความ​แตก​ต่างร​ ะหว่างบ​ ุคคล และพ​ ัฒนาต​ น​ให้เ​ข้าก​ ับเพื่อน​ร่วม​งานไ​ด้​ดี

       3. 	 ใน​เร่ือง​ของ​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​การ​ทำ�งาน​ท่ี​ดี จะ​เป็น​ตัว​กระตุ้น​ให้​บุคคล​วิเคราะห์​สิ่ง​แวดล้อม​ใน​ที่​
ทำ�งาน​แล้วป​ รับปรุงใ​ห้​ดีข​ ึ้น รวมท​ ั้งเ​ป็น​แนวทาง​พัฒนาต​ นใ​ห้​เข้า​กับ​ที่ท​ ำ�งานใ​ห้​ได้​ด้วย

       ซึ่งอ​ งค์​ประกอบ​ดังก​ ล่าวน​ ี้ จะ​ส่ง​ผล​ต่อ​มนุษยสัมพันธ์ใ​นอ​ งค์การ เมื่อ​บุคคล​ในอ​ งค์การ​มีค​ วาม​สุข
เพื่อน​ร่วมง​ าน​สุข และส​ ิ่ง​แวดล้อมใ​นท​ ี่ท​ ำ�งาน​ดี ย่อมจ​ ะท​ ำ�ให้อ​ งค์การ​มี​ประสิทธิภาพ

       ในก​ ารศ​ ึกษาเ​กี่ยวก​ ับม​ นุษยสัมพันธ์ โดยเ​ฉพาะม​ นุษยสัมพันธใ์​นอ​ งค์การข​ องไ​ทย จึงเ​ป็นเ​รื่องท​ ีค่​ วร​
จะศ​ ึกษาเ​กี่ยวข้องก​ ับแ​ นวคิดใ​นเ​รื่องธ​ รรมชาติข​ องม​ นุษย์ แนวคิดใ​นเ​รื่องข​ องส​ ังคมไ​ทย และแ​ นวคิดใ​นเ​รื่อง​
ของอ​ งค์การ (ฐานิก​ า บุษม​ งคล 2553) ดังนี้

       1.	 แนวคิดใ​น​เร่อื งธ​ รรมชาตข​ิ องม​ นุษย์ โดย​ศึกษาใ​น​ประเด็น​เกี่ยวก​ ับเ​รื่อง ความ​แตกต​ ่างร​ ะหว่าง​
บุคคล พฤติกรรม​กับ​แรง​จูงใจข​ อง​มนุษย์ คุณค่าแ​ ละ​ศักดิ์ศรี​ของ​ความเ​ป็น​มนุษย์ กล่าวค​ ือ

            1.1	 ความส​ มั พนั ธข​์ องม​ นษุ ยใ​์ นส​ งั คมย​ อ่ มม​ ร​ี ปู แ​ บบ แนวทางท​ แ​่ี ตกต​ า่ งก​ นั อ​ อกไ​ป ทั้งนีเ้​พราะ​
มนุษย์ม​ ี​ความแ​ ตกต​ ่าง​ระหว่างบ​ ุคคล (individual differences) อยู่​โดยธ​ รรมชาติ

            1.2	 พฤตกิ รรมม​ นุษยเ์​ป็น​ส่งิ ​ก่อใ​ห​้เกดิ ​ขนึ้ ไ​ดแ​้ ละ​จงู ใจ​ได้  โดย​ทาง​จิตวิทยา​เชื่อว​ ่า พฤติกรรม​
เกิดจ​ ากค​ วามต​ ้องการ ซึ่ง​ถือว่าค​ วามต​ ้องการเ​ป็นแ​ รงข​ ับห​ รือแ​ รงจ​ ูงใจภ​ ายในท​ ีท่​ ำ�ใหเ้​กิดพ​ ฤติกรรม นอกจาก​
พฤติกรรมจ​ ะเ​กิดจ​ ากแ​ รงจ​ ูงใจภ​ ายในแ​ ล้วเ​ราย​ ังส​ ามารถท​ ำ�ใหม้​ นุษยแ์​ สดงพ​ ฤติกรรมโ​ดยใ​ชส้​ ิ่งจ​ ูงใจภ​ ายนอก​
ได้อ​ ีก​ด้วย

            นอกจากน​ ี้ ธรรมชาตข​ิ องม​ นษุ ยย​์ งั ม​ ค​ี วามซ​ บั ซ​ อ้ นแ​ ละม​ ค​ี วามผ​ นั แปรเ​ปน็ อ​ ยา่ งม​ าก (complex)
มนุษย์​จึงม​ ักม​ ี​พฤติกรรม​ที่​ผันแปรอ​ ยู่เ​สมอ​ตาม​ความต​ ้องการ​หรือแ​ รง​จูงใจ​ที่​มีอ​ ยู่

            1.3	 มนุษยท์​ กุ ค​ นม​ ศ​ี กั ด์ศิ รีข​ อง​ความเ​ปน็ ​คน มนุษย์​ทุก​คน​จึงม​ ี​คุณค่า มี​ศักดิ์ศรี​เท่าเ​ทียมก​ ัน
ฉะนั้น​การ​ปฏิบัติ​ต่อ​เพื่อน​มนุษย์​ใน​สังคม ต่อ​เพื่อน​ร่วม​งาน​ใน​องค์การ จึง​ควร​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ของ​การ
ยกย่องใ​ห้​เกียรติ สุภาพ อ่อนน้อม ไม่ว​ างอ​ ำ�นาจ หรือ​ขู่​บังคับ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22