Page 59 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 59
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับมัธยมศึกษา 11-49
เร่อื งที่ 11.3.1 การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้สาระเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารแบบกลุม่ เลก็
กลุ่มเล็กหรือกลุ่มย่อย หมายถึง การรวมคนต้ังแต่สองคนขึ้นไป โดยสมาชิกของกลุ่มต่างมี
วตั ถปุ ระสงคร์ ว่ มกนั โดยทวี่ ตั ถปุ ระสงคน์ น้ั สนองความตอ้ งการของสมาชกิ ทกุ คนในกลมุ่ มกี ารทำ� งานรว่ มกนั
มีการติดต่อส่ือสารกันระหว่างสมาชิกของกลุ่ม และต่างมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระบบโรงเรียนโดยท่ัวไป จ�ำนวนผู้เรียนในห้องเรียนหน่ึง ๆ มี
จ�ำนวนมาก อาจเรียกว่า เป็นกลุ่มใหญ่ แต่บางคร้ังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในช้ันเรียนหรือนอกช้ัน
เรียนก็ตามต้องจัดส�ำหรับผู้เรียนกลุ่มเล็กด้วย จึงเกิดการแบ่งกลุ่มข้ึน ดังน้ัน กลุ่มเล็กจึงเป็นส่วนหนึ่งของ
กลุ่มใหญ่ ท่ีถูกแบ่งออกเพ่ือให้สมาชิกภายในกลุ่มได้มีโอกาสท�ำกิจกรรมบางสิ่งบางอย่าง
ในเรอ่ื งท่ี 11.3.1 นจี้ ะขอกลา่ วถงึ ความหมาย ลกั ษณะการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าระเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสารแบบกลุ่มเล็ก แนวทางการใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของกลุ่มเล็ก และ
ประเภทของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบกลุ่มเล็ก
1. ความหมายของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แบบกลุม่ เล็ก
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบกลุ่มเล็ก เป็นกลวิธี
หรอื กจิ กรรมทจี่ ดั ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นเปน็ กลมุ่ จำ� นวนตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไปและจำ� นวนสมาชกิ มากทสี่ ดุ ประมาณ 12 คน
ไม่ควรเกิน 15 คน ได้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีเป้าหมายร่วมกัน (ประศักด์ิ หอมสนิท,
2557, น. 8)
2. ลักษณะการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้สาระเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
แบบกลุ่มเล็ก
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบกลุ่มเล็กไม่ว่าจะเป็น
วิธีการใดก็ตาม ยึดหลักการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักการเรียนรู้ของกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงทิศนา
แขมณี (2552) ได้กล่าวถึง หลักการเรียนรู้ของกระบวนการกลุ่มไว้ว่า
2.1 หลักการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งเน้นให้ผู้สอนพยายามจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนให้ทั่วถึงมากท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ เพราะการที่ผู้เรียนได้มีบทบาท
ต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความพร้อม ความกระตือรือร้นที่จะเรียน และเรียนอย่างมีชีวิตชีวา