Page 20 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 20

14-10 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ

เร่อื งที่ 14.1.2		ห ลักการและแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
           สาระการอาชีพ ระดับมัธยมศกึ ษา

       การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ส�ำหรับสาระการอาชีพนั้น
ผู้สอนจ�ำเป็นเข้าใจในหลักการและแนวทางของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของสาระการอาชีพเป็นอย่างดี
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. 	หลักการจดั ประสบการณ์การเรียนรูส้ าระการอาชพี ระดับมัธยมศกึ ษา

       ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ ในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ช่วงชั้น
คือ ช่วงช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้ังแต่มัธยมศึกษา
ปีที่ 4 ถึง 6 พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ (พระราชกิจจานุเบกษา, 2545, น. 8) ก�ำหนดให้บิดา มารดา
หรือผู้ปกครองมีหน้าท่ีจัดให้บุตรหรือบุคคลซ่ึงอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจ�ำนวนเก้าปี โดย
ให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจนอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่จะสอบได้ช้ัน
ปที เี่ กา้ ของการศกึ ษาภาคบงั คบั ดงั นนั้ ผเู้ รยี นทอ่ี ายคุ รบ 16 ปี หรอื จบมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาตอ่
สามารถออกจากการศกึ ษาไปประกอบอาชพี ได้ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าระการอาชพี ชว่ งมธั ยมศกึ ษา
ตอนต้น จึงเน้นให้ความรู้แก่ผู้เรียนเพ่ือที่จะออกไปประกอบอาชีพ มากกว่าช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ มีดังต่อไปน้ี

       1.1	 เลือกประสบการณที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดการเรียนรูสาระการอาชีพ หาก
เปนทักษะก็ควรเปนทักษะที่ปฏิบัติแลว ผูเรียนจะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดประสงคที่ตั้งไว

       1.2	 เลือกประสบการณท่ีเหมาะสมกับผูเรียน มีประโยชนตอการนําไปใชในประกอบอาชีพในชีวิต
ประจําวันและความพึงพอใจ ซ่ึงจะเปนผลใหมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนสาระการอาชีพ

       1.3	 เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสามารถทางดานรางกายของผูเรียนท่ีจะปฏิบัติไดและควร
คํานึงถึงประสบการณเดิมเพ่ือจัดกิจกรรมใหมไดตอเนื่อง

       1.4	 กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน จะต้องสงเสริมจุดมุงหมายในการจัดการเรียนรูหลาย ๆ ดาน
       1.5	 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ ต้องคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
ไมจําเปนวาผูเรียนทุกคนตองท�ำกิจกรรมอยางเดียวกันหมด ควรมีกิจกรรมใหผูเรียนไดเลือกทําอยาง
หลากหลาย
       จากหลักการดังกลา วผูสอนจึงควรจัดประสบการณใ หแกผูเรียนตามลําดับความสําคัญจากรูปธรรม
(Concrete) ไปสูนามธรรม (Abstract) ซึ่ง เอดการ์ เดล (Edgar Dale) นักการศึกษาชาวอเมริกันไดจัด
ลําดับของการใหประสบการณแกผูเรียนไว 10 แบบ เรียกวา กรวยประสบการณ (Cone of Experience)
แสดงได้ดังภาพ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25