Page 24 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 24
14-14 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
เวลาในการสอน ถ้าเน้ือหามาก แต่เวลาน้อย จะท�ำให้ผู้เรียนไม่สามารถเข้าใจเนื้อหาท้ังหมดได้ อีกทั้ง
การปฏิบัติก็จะไม่ประสบการณ์เท่าท่ีควร
2.3 ผู้สอนควรเลอื กใช้วิธกี ารจัดการเรียนรใู้ หม่ ๆ และเน้นผูเ้ รียนเป็นสำ� คญั ผู้สอนควรใช้กลยุทธ์
ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพท่ีแตกต่างกันไปในการสอนแต่ละครั้ง และสอนให้ผู้เรียน
สามารถเชอ่ื มโยงความรทู้ ไ่ี ดใ้ นชนั้ เรยี นกบั แนวทางในการเลอื กประกอบอาชพี หรอื ทำ� งาน ฝกึ ใหผ้ เู้ รยี นพฒั นา
ทักษะกระบวนการคิดทุกรูปแบบ เพ่ือหาความเหมาะสมและความถนัดของตนเองในการประกอบอาชีพ
2.4 ผสู้ อนควรใชห้ ลกั จติ วทิ ยาแรงจงู ใจใหถ้ กู วธิ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ เน่ืองจากแรงจูงใจจะน�ำ
ไปสกู่ จิ กรรมการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ผสู้ อนจะตอ้ งกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นเหน็ ความสำ� คญั ของการมอี าชพี การคน้ พบ
ตนเองว่าถนัดกับวิชาชีพใด จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นอย่างมากในอนาคต
2.5 ผู้สอนควรสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสนุกสนาน ไม่ว่าจะเป็น
บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางจิตวิทยา บรรยากาศทางกายภาพ คือ การจัดสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด มีสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้สาระการอาชีพ
บรรยากาศทางกายภาพจากผู้เรียนก็เป็นอีกหนทางหน่ึงท่ีจะช่วยในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระ
การอาชีพ เช่น การจัดกิจกรรมจ�ำลองสถานการณ์อาชีพต่าง ๆ ด้วยบรรยากาศทางจิตวิทยา เป็นบรรยากาศ
ด้านจิตใจ ท่ีท�ำให้ผู้เรียนรู้สึกสนใจ อยากเรียนรู้สาระต่าง ๆ ของสาระการอาชีพ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของบทเรียน
2.6 ผสู้ อนควรมกี ารประเมนิ การจดั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาการของผเู้ รยี น ซง่ึ เปน็ ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ การประเมินน้ันต้องมีครบทุกปัจจัยเพราะเป็นส่ิงจ�ำเป็นที่จะ
สง่ ผลตอ่ กระบวนการการจัดประสบการณ์การเรยี นรแู้ ละพัฒนาการของผูเ้ รยี นทุกด้าน ไดแ้ ก่ พฒั นาการด้าน
สติปัญญา พัฒนาการด้านสังคม พัฒนาการด้านร่างกาย และพัฒนาการด้านคุณธรรมและจริยธรรมของ
ผู้เรียน การประเมินมี 3 ประการ คือ ผู้สอนต้องประเมินตนเอง การประเมินผู้เรียน การประเมินสื่อท่ีใช้ใน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ มีรายละเอียด ดังน้ี
2.6.1 ส่ิงที่ผู้สอนต้องประเมินตนเอง ประกอบด้วย การประเมินวิธี ข้ันตอน และเทคนิค
การจดั การเรียนรวู้ า่ สอดคล้องเหมาะสมกับเน้อื หาสาระการอาชีพหรอื ไม่ และความสามารถในการจดั ช้ันเรยี น
การควบคุมชั้นเรียน
2.6.2 การประเมนิ ผเู้ รยี น ผู้สอนควรประเมินตั้งแต่ความรู้พ้ืนฐานด้านสาระการอาชีพ เพราะ
ผู้เรียนแต่ละคนมีพื้นฐานความรู้ด้านอาชีพแตกต่างกัน ต้องช่วยผู้เรียนปรับพื้นฐานความรู้ด้านอาชีพเป็น
รายบุคคลหรือรายกลุ่ม ประเด็นท่ีส�ำคัญที่สุด คือ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อดูพัฒนาการของ
ผู้เรียน
2.7 การประเมนิ สอื่ ทใี่ ชใ้ นการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าระการอาชพี ซง่ึ เปน็ การประเมนิ ทสี่ ำ� คญั
เช่นกัน เน่ืองจากส่ือการเรียนรู้นั้นจะเป็นตัวเช่ือม ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจในสิ่งท่ีผู้สอนน�ำเสนอ การจะ
ให้ผู้เรียนได้รู้จักอาชีพประเภทต่าง ๆ ท่ีมีอยู่บางครั้ง ผู้เรียนไม่สามารถท�ำความเข้าใจถึงลักษณะของอาชีพ
นั้นได้ เนื่องจากไม่ใช่อาชีพท่ีจะเห็นได้ทั่ว ๆ ไปในชีวิตจริง เช่น อาชีพช่างท�ำทอง อาชีพช่างเช่ือมโลหะใต้ทะเล
เป็นต้น