Page 22 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 22

14-12 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ

       3.	 ประสบการณน าฏการ (Dramatized experience) คอื การแสดงละครในหอ งเรยี นหรอื ทเ่ี รยี กวา
บทบาทสมมติ ผูเรียนมีสวนรวมในการแสดงทําใหมีการเรียนรูจากการกระทํา ผูแสดงยอมเขาใจเรื่องราว
จําเร่ืองได สวนผูดูก็จะจําไดดีและสนใจมากกวาการเรียนดวยวิธีอื่น ๆ เช่น การแสดงบทบาทสมมติอาชีพ
ขายกาแฟ

       4.	 การสาธติ (Demonstration) ไดแก การแสดงใหผูเรียนไดเห็นเปนลําดับข้ันไป เชน การประกอบ
อาหาร การท�ำเบเกอรี บางกรณีอาจใหผูเรียนมีสวนรวมในการสาธิตดวยซึ่งจะชวยใหผูเรียนมีความเขาใจ
ไดดี เชนเดียวกัน

       5.	 การศึกษานอกสถานที่ (Fieldtrip) เปนประสบการณท่ีทําใหผูเรียนมีโอกาสไดดู ไดเห็น ได
ซักถาม ไดใชประสาทสัมผัสตาง ๆ มาก กอใหเกิดความคิด มองเห็นปญหานํามาซึ่งความรูจากการไดรับ
ประสบการณตรงเชนเดียวกัน เช่น การไปเยี่ยมชมแหล่งผลิตสินค้าโอท็อป

       6.	 นทิ รรศการ (Exhibition) การใหผ เู รยี นไดร ว มจดั นทิ รรศการหรอื การนาํ ผเู รยี นไปชมนทิ รรศการ
ก็เปนประสบการณที่ทําใหผูเรียนไดดูไดเห็น ไดสัมผัสจับตอง เปนอีกทางหน่ึงที่กอใหเกิดความรูเกิด
ความคิด เปนประสบการณที่ดีกวาประสบการณอ่ืน ที่เปนนามธรรม

       7.	 ภาพยนตรและโทรทัศน เปนประสบการณที่มีความเปนรูปธรรมท่ีมีทั้งภาพและเสียงใกลเคียง
ของจริงมากท่ีสุด เช่น ให้ผู้เรียนได้ดูรายการโทรทัศน์ท่ีน�ำเสนอเกี่ยวกับอาชีพ

       8.	 การบันทึกเสียงวิทยุและภาพน่ิง ไดแก  แผนเสียง แถบบันทึกเสียง วิทยุสไลด  ฟลมสตริป
รูปภาพ อุปกรณ์เหลานี้ผูเรียนอาจจะไดยินเสียงหรือไดมองเห็นภาพอยางใดอยางหน่ึง ประสบการณข้อน้ี
ก็ทําใหผูเรียนสนใจไดไมนอย เช่น ฟังรายการวิทยุแนะน�ำอาชีพ

       9.	 ทัศนสัญลักษณ (Visual symbols) ไดแก  แผนที่ แผนภูมิเปนสัญลักษณที่ทําใหผูดูเกิด
ความเขาใจอยางรวดเร็ว ใชชวยประกอบคําอธิบายของผูสอนใหแจมแจง เช่น ใช้แผนท่ีแสดงบริเวณท่ีมี
การปลูกใบชาที่มีคุณภาพดี

       10.	สัญลักษณของภาษา หรือวจนสัญลักษณ (Verbal symbol) ไดแก คําพูด และตัวหนังสือหรือ
ภาษานั่นเอง เปนประสบการณที่เปนนามธรรมมากท่ีสุด แตก็ยังเปนสิ่งจําเปน ในการจัดการเรียนรูจะท้ิง
ไม่ได  ดังน้ัน ในปจจุบันการจัดการเรียนรูดวยวิธีการบรรยาย จึงยังเปนสิ่งจําเปนซ่ึงหากผูสอนใชเสริมกับ
การจัดประสบการณอื่น ๆ ใหผูเรียนก็จะทําใหผูเรียนเขาใจไดดีย่ิงข้ึน

       หลักการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ ในระดับมัธยมศึกษานั้น จะต้องเลือก
ประสบการณที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของสาระ เหมาะสมกับผูเรียน เหมาะสมกับความสามารถทางด้าน
ร่างกายของผูเรียน กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนจะต้องสงเสริมจุดมุงหมายในการจัดการเรียนรูหลาย ๆ ดาน และ
ต้องคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

2. 	แนวทางการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้สาระการอาชพี ระดับมัธยมศกึ ษา

       การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าระการอาชพี รจู้ ำ� เปน็ ตอ้ งจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความถนดั ความสนใจ
และพัฒนาการของผู้เรียน เน้นฝึกทักษะกระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้เพ่ือใช้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27