Page 21 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 21

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ ระดับมัธยมศึกษา 14-11

นามธรรม

                                           10. สัญลักษณ์
                                             ของภาษา

                                          9. ทัศนสัญลักษณ์
                                     8. การบันทึกเสียงวิทยุ ภาพน่ิง

                                        7. ภาพยนตร์ โทรทัศน์

                                      6. นิทรรศการ (Exhibition)
                                  5. การศึกษานอกสถานท่ี (Fieldtrip)

                                 4. การสาธิตทดลอง (Demonstration)
                           3. ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience)

                              2. ประสบการณ์รอง (Contrived Experience)
                       1. ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย (Direct Experience)
   รูปธรรม
                       ภาพที่ 14.1 กรวยประสบการณ (Cone of Experience)

ทม่ี า: คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. 2553.

       จากภาพกรวยประสบการณอธิบายไดดังน้ี
       1.	 ประสบการณตรง (Direct experience) คือ การเรียนรูที่ตองใชของจริงหรือการใหผูเรียนได
ลงมือคนควา ทดลอง หรือปฏิบัติดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหผูเรียนไดรับประสบการณตรงผูเรียนไดใชประสาท
สัมผัสท้ัง 5 เช่น การจ�ำลองอาชีพขายกาแฟ เป็นต้น
       2.	 ประสบการณร อง (Contrived experience) หมายถึง เม่ือผูสอนไมสามารถจัดประสบการณ์ตรง
จากของจริงใหผูเรียนไดสัมผัสดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ผูสอนก็อาจใชหุนจําลองมาใหผูเรียนไดสัมผัส
ซ่ึงทําใหผูเรียนมีประสบการณรอง ซึ่งคลายคลึงกับประสบการณตรงมากที่สุด เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์
สอนวิชาชีพต่าง ๆ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26