Page 26 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 26

14-16 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ

            1.1.7	 อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3)
            1.1.8	 วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3)
            1.1.9	 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความ
สนใจของตนเอง (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3)
            1.1.10	อภิปรายแนวทางสู่อาชีพท่ีสนใจ (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
            1.1.11	เลือกและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
            1.1.12	มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ (ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6)
            1.1.13	มีคุณลักษณะท่ีดีต่ออาชีพ (ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6)
       1.2	 ทักษะที่จ�ำเป็นและจุดประสงค์การเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการได้ระบุทักษะที่จ�ำเป็นท่ีผู้สอน
จะต้องจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนสาระการอาชีพ กลุ่มสาระการอาชีพและเทคโนโลยี ท้ังระดับ
ประถมศกึ ษาและระดบั มธั ยมศกึ ษาไวเ้ หมอื น ๆ กนั ไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 วา่ ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การประกอบอาชพี ประกอบดว้ ย ทกั ษะกระบวนการทำ� งาน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะ
การแกป้ ญั หา ทกั ษะการทำ� งานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ นอกจากนนั้ โรงเรยี นอาจกำ� หนดทกั ษะอน่ื
เพิ่มเติมได้ตามที่เห็นเหมาะสม
       นอกจากทักษะที่กล่าวแล้วนั้น ผู้สอนจะต้องจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียนให้มีพัฒนาการท้ัง
ด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และเจตพิสัย โดยเฉพาะในด้านทักษะพิสัยและเจตพิสัย ซึ่งได้กล่าวถึงแล้วใน
หน่วยท่ี 13
       1.3	 บริบทท่ีเกี่ยวข้องกับผู้เรียน ประกอบด้วย พัฒนาการของผู้เรียนและการเรียนรู้ของผู้เรียน
พัฒนาการของผู้เรียน (Development of learner) ผู้สอนควรทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียน เพราะผู้เรียน
ในแต่ละดับของช่วงชั้นจะมีพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันไป ผู้สอนจึงควรทราบ
พัฒนาการของผู้เรียนเพ่ือใช้ประกอบการพิจารณาก�ำหนดวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยพิจารณา
จากพัฒนาการทางสติปัญญา และความสามารถในการรับรู้ ผู้เรียนในวัยมัธยมศึกษาหรืออายุ ระหว่าง
13-18 ปี เร่ิมเข้าสู่วัยรุ่นมีการเจริญเติบโตของสมองอย่างเต็มท่ี พัฒนาการทางด้านความคิดสติปัญญาเป็น
ไปอย่างรวดเร็วสามารถเข้าใจเรื่องที่เป็นนามธรรมได้ มีความคิดกว้างไกล พยายามแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ มี
จินตนาการมาก มีความเชื่อมั่นในความคิดของตนอย่างมาก พัฒนาการทางความคิดตามแนวคิดของเพียเจต์
(Piaget, 1958 อ้างอิงใน Lefrancois, 2000) ผู้เรียนเข้าสู่วัยรุ่นพัฒนาความคิดจากความคิดแบบรูปธรรม
(concrete) มาจากวัยเด็กมาสู่กระบวนการพัฒนาความคิดแบบเป็นเหตุผล เป็นรูปแบบชัดเจน (Cognitive
thought phase หรอื Formal operation period) ซง่ึ มลี กั ษณะเดน่ คอื สามารถคดิ อยา่ งมเี หตผุ ลโดยไมใ่ ช้
วัตถุเป็นส่ือ มีการคิดแบบใช้ตรรกะจากเง่ือนไขท่ีก�ำหนด การคิดแบบใช้เหตุผลเชิงสัดส่วน การคิดแบบแยก
ตัวแปรเพื่อสรุปผล การคิดแบบใช้เหตุผลสรุปเป็นองค์รวม คาดการณ์อนาคตได้โดยมองย้อนอดีต (ศรีเรือน
แก้วกังวาล, 2538, ทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลิต, 2541) ผู้เรียนมีความคิดแบบตัวเองเป็นศูนย์กลาง (Adolescent
egocentrism) คือ จะคิดว่าพฤติกรรมของตนถูกเฝ้ามองจากบุคคลอน่ื ใหค้ วามใสใ่ จอย่างมากตอ่ คำ� วิพากษ์
วิจารณ์ของบุคคลอ่ืน (The Imagination Audience) โดยเฉพาะในเรื่องการแต่งกาย ทรงผม และรูปร่าง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31