Page 43 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 43
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระการอาชีพ ระดับมัธยมศึกษา 14-33
ส�ำรวจเป็นการก�ำหนดเป็นน้ําหนักคะแนนว่า ได้ หรือไม่ได้ ถ้าผ่านหรือได้แสดงว่าผู้ปฏิบัติได้กระท�ำตาม
รายการนั้นถูกต้อง แต่ถ้าไม่ได้ ก็แสดงว่าท�ำไม่ถูกต้อง แบบมาตรประเมินค่า มีลักษณะคล้ายแบบส�ำรวจ
รายการ แต่ก�ำหนดระดับคะแนนให้แก่รายการตามความคิดเห็นของผู้สังเกตว่ารายการนั้น ๆ ผู้ถูกสังเกตมี
ค่าตามข้อความหรือรายการนั้นอยู่ในระดับใด มาตราส่วนประมาณค่าใช้ในการตรวจสอบคุณสมบัติของ
ผลผลิต และวิธีการปฏิบัติงานรวมไปถึงการวัดทางบุคลิกภาพ
1.5 การวัดผลภาคปฏิบตั หิ รอื การประเมนิ จากผลงาน เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ
ซ่ึงสามารถวัดได้ท้ังกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จ�ำลอง ส่ิงที่ควรค�ำนึงใน
การสอบวัดภาคปฏิบัติคือ 1) ข้ันเตรียมงาน 2) ข้ันปฏิบัติงาน 3) เวลาที่ใช้ในการท�ำงาน 4) ผลงาน โดยใช้
แบบประเมินผลงาน เป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการจดบันทึกพฤติกรรมหรือเหตุการณ์จากท่ีสังเกตได้ โดยการ
เขียนข้อความเก่ียวกับ ส่ิงท่ีสังเกตได้ลงในสมุดบันทึกอย่างเป็นระบบตามความเป็นจริง นิยมใช้เป็น
เคร่ืองมือประกอบการสังเกตพฤติกรรมจิตพิสัย
1.6 การใชแ้ ฟม้ สะสมงาน เปน็ แนวทางการประเมนิ ผลโดยการรวมขอ้ มลู ทคี่ รแู ละผเู้ รยี นทำ� กจิ กรรม
ต่าง ๆ ร่วมกัน โดยกระท�ำอย่างต่อเน่ืองตลอดภาคเรียน ดังน้ันการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสม
งานส่วนหน่ึง จะเป็นกิจกรรมท่ีสอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจ�ำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้
จะวัด เน้ือหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจ�ำวัน เครื่องมือที่ส�ำคัญคือ แบบบันทึก แบบประเมินผลงาน
แบบประเมินตนเอง
1.7 การประเมนิ โดยกลมุ่ เพอ่ื น เป็นการตัดสินใจโดยให้กลุ่มเพื่อนท�ำงานร่วมด้วยเกณฑ์ที่ใช้ในการ
พิจารณา เช่น ความคิดสร้างสรรค์ การช่วยเหลือกลุ่ม ความสามารถในการท่ีจะท�ำงานให้เสร็จตามก�ำหนด
เวลา เป็นต้น
1.8 การประเมินกลุ่ม เป็นการประเมินการท�ำงานเป็นกลุ่ม การท�ำงานร่วมกัน เช่น การช่วยกันคิด
ช่วยกันท�ำเพียงไร ผลงานของกลุ่มเป็นอย่างไร เป็นต้น
1.9 การประเมินโดยใช้แบบทดสอบท้ังแบบอัตนัยและแบบปรนัย เนื้อหาสาระภาคทฤษฏีรวมท้ัง
ความคิดเห็น ปัญหา การแก้ปัญหา และอื่น ๆ จะประเมินได้โดยใช้ข้อสอบท้ังแบบอัตนัยและแบบปรนัย
3. การนำ� ขอ้ มลู จากการวดั และประเมนิ ผลกลบั มาปรบั ปรงุ การออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ของผสู้ อน
การวัดและประเมินผลท่ีมีประสิทธิภาพจะให้ข้อมูลท่ีถูกต้อง เที่ยงตรง ส�ำหรับการตัดสินใจ
เกี่ยวกับการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นข้อมูลย้อนกลับท่ีจะช่วยติดตาม ก�ำกับ ดูแล ความก้าวหน้าของผู้เรียน
ตลอดเวลา การน�ำข้อมูลจากการวัดและประเมินผลกลับมาปรับปรุงการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของผู้สอนมี 3 ระยะ ดังนี้
3.1 ก่อนการสอน โดยผู้สอนจะน�ำข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาปรับแนวทางการจัดกิจกรรมให้
สอดคล้องกับสภาพความพร้อมและพื้นฐานของผู้เรียน สามารถกล่าวได้ว่าการวัดและประเมินผลมีความ
สัมพันธ์กับการสอนอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการจัดการเรียนการสอนแต่ละระดับช้ันเรียนเพื่อให้ผู้เรียน