Page 40 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 40

1-30 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเก่ียวกับวิชาชีพครู

เรื่องท่ี 1.2.1	ทฤษฎีการศึกษาตะวันตก

       ทฤษฎีการศึกษา คือ แนวคิด ความเชื่อทางการศึกษา เป็นการประยุกต์หลักการจากปรัชญา
สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขามาสร้างเป็นทฤษฎีการศึกษาโดยสะท้อนให้เห็นแนวความคิดและความเชื่อ
เกี่ยวกับการศึกษาของนักการศึกษาแต่ละกลุ่ม (วิจิตร ศรีสอ้าน, 2543: 272-276) ในเร่ืองน้ีจะเสนอเฉพาะ
ทฤษฎีการศึกษาตามแนวคิดของนักการศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ แนวคิดกลุ่มอนุรักษ์นิยม
(Conservative view) และ แนวคิดกลุ่มเสรีนิยม (Liberal view) ทฤษฎีการศึกษาในกลุ่มอนุรักษ์นิยม
ไดแ้ ก่ สารตั ถวาท (Essentialism) และนริ นั ตรวาท (Perennialism) สำ� หรบั ทฤษฎกี ารศกึ ษาในกลมุ่ เสรนี ยิ ม
ไดแ้ ก่ พพิ ฒั นวาท (Progressivism) และบรู ณวาท (Reconstructionism) (ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น,์ 2552:53-79)
ซึ่งทฤษฎีการศึกษาเหล่านี้ยังคงใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษามาจนถึงปัจจุบัน ส�ำหรับแนวความคิดหรือ
หลักการของแต่ละทฤษฎี วิจิตร ศรีสอ้าน (2543) และไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2552) ได้กล่าวไว้ ดังต่อไปน้ี

1. 	แนวคดิ กลุ่มอนรุ ักษ์นิยม

       แนวคดิ กลมุ่ อนรุ กั ษน์ ยิ ม เปน็ กลมุ่ เนน้ เนอ้ื หา เนน้ มรดกทางวฒั นธรรมมากกวา่ กจิ กรรมและความรู้
สมัยใหม่ ทฤษฎีการศึกษาในกลุ่มน้ีมี 2 สาขาใหญ่ คือ สารัตถวาทและนิรันตรวาท

       1.1 	สารตั ถวาท ทฤษฎกี ารศกึ ษาสารตั ถวาทเกดิ ขน้ึ ในสหรฐั อเมรกิ า เมอ่ื ประมาณ ค.ศ. 1930 ทฤษฎนี ้ี
เกดิ ขนึ้ ในฐานะทเี่ ปน็ ความเคลอื่ นไหวทางการศกึ ษา โดยมไิ ดผ้ กู พนั ตวั เองกบั ปรชั ญาสาขาใด ทง้ั  ๆ ทห่ี ลกั การ
บางประการมคี วามสมั พนั ธส์ อดคลอ้ งกบั ปรชั ญาหลายสาขา กลมุ่ นกั ปรชั ญาและนกั การศกึ ษาทร่ี ว่ มกนั บกุ เบกิ
ทฤษฎีนี้ ได้แก่ วิลเลียม แบกเลย์ (William Bagley) ไอแซค แคนเดล (Isaac Kandel) และ
เฮอร์แมน ฮอร์น (Herman Horne) เป็นต้น

       ทฤษฎีการศึกษาสารัตถวาทซ่ึงได้ชื่อว่าเป็น “หนทางแห่งการอนุรักษ์วัฒนธรรมของสังคม” ยึดถือ
สิ่งท่ีเป็นแก่นสารสาระเป็นหลักในการจัดการศึกษา หลักการส�ำคัญของทฤษฎีสารัตถวาท มีดังนี้

            1) 	การศึกษาเป็นงานหนักท่ีผู้เรียนจะต้องเอาจริงเอาจัง โดยเรียนอย่างมีวินัยและใช้ความ
พยายามอย่างเต็มที่จึงจะได้ผล ทฤษฎีสารัตถวาทย้�ำเร่ืองระเบียบวินัยและการใช้ความพยายามของผู้เรียน
โดยถือว่า หากผู้เรียนมีวินัยและใช้ความพยายามอย่างเต็มที่แล้ว ผลการเรียนรู้ก็จะเกิดขึ้นไม่ว่าผู้เรียนจะมี
ความสนใจเร่ืองน้ัน ๆ มาก่อนหรือไม่ เร่ืองความสนใจเป็นส่ิงที่สร้างข้ึนมาภายหลังได้

            2) 	ความคิดริเริ่มทางการศึกษาควรจะมาจากครูมากกว่าจากเด็ก ทั้งนี้ เพราะครูเป็นผู้ท่ีมี
ความรู้และประสบการณ์มากกว่า ในขณะเดียวกัน เด็กโดยธรรมชาติก็ต้องการการแนะน�ำและการควบคุม
จากผู้ใหญ่ ทฤษฎีการศึกษาสารัตถวาทจึงถือเอาครูเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน

            3) 	หัวใจของการศึกษา คือ การจดจ�ำเนื้อหาวิชาท่ีก�ำหนด ทฤษฎีการศึกษาน้ีเน้นเน้ือหาวิชา
การเรียนรู้เน้ือหาวิชาท่ีจ�ำเป็นจะเป็นการตระเตรียมเด็กให้พร้อมท่ีจะด�ำเนินชีวิตในสังคม
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45