Page 43 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 43

ปรัชญา ทฤษฎีและแนวคิดทางการศึกษา 1-33

            4) 	ครูควรมีบทบาทเป็นที่ปรึกษามากกว่าเป็นผู้ก�ำกับการเรียนการสอนหรือเป็นผู้ออกค�ำส่ัง
เน่ืองจากทฤษฎีน้ีถือเด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน บทบาทของครูจึงมุ่งท่ีการแนะน�ำให้ค�ำปรึกษา
เพ่ือให้ผู้เรียนได้จัดท�ำกิจกรรมและมีประสบการณ์ท่ีเหมาะสม

            5) 	โรงเรียนควรจะส่งเสริมความร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน ทฤษฎีนี้เห็นว่า โรงเรียนน่าจะ
เน้นการส่งเสริมความร่วมมือ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รู้จักการท�ำงานเป็นหมู่คณะ รู้จักบทบาทของผู้น�ำและผู้ตาม
ประสบการณ์การท�ำงานท่ีเน้นความร่วมมือกันจะเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานในชีวิตจริงเป็นอย่างมาก

            6) 	วิถีชีวิตและค่านิยมประชาธิปไตยได้รับการเน้นเป็นพิเศษ เพราะจะช่วยให้เกิดบรรยากาศ
ของการแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นกันอย่างเสรี ซ่ึงเป็นเง่ือนไขที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับความเจริญงอกงามของ
ปัญญา

       2.2 	บรู ณวาท ทฤษฎีการศึกษาบูรณวาท เป็นทฤษฎกี ารศกึ ษาทีอ่ าศัยหลกั การของปรัชญาการศกึ ษา
สาขาประสบการณ์นิยมเป็นหลัก เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพิพัฒนวาท ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาภายหลัง
ทฤษฎีพิพัฒนวาทประมาณ 10 ปี คือ ในช่วง ค.ศ. 1930 ซึ่งเป็นระยะท่ีสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกเผชิญกับ
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจซึ่งมีภาวะตกต่�ำท่ัวโลก ท�ำให้นักการศึกษากลุ่มหัวก้าวหน้าเรียกร้องให้มีการปฏิรูป
การศึกษา เพ่ือน�ำไปสู่การสร้างสังคมใหม่ซ่ึงมีความเสมอภาคและเป็นธรรมยิ่งข้ึน ผู้น�ำคนส�ำคัญในการ
กระตุ้นให้เกิดแนวคิดน้ี คือ ยอร์ช เคานทส์ (George Counts) แฮโรลด์ รักก์ (Harold Rugg) และ
ธีโอดอร์ บราเมลด์ (Theodore Brameld)

       ทฤษฎีการศึกษาบูรณวาทซ่ึงได้ช่ือว่าเป็น “หนทางปฏิรูปเพ่ือสร้างวัฒนธรรมใหม่” ยึดถือการศึกษา
เพ่ือการปฏิรูปสังคม หลักการส�ำคัญของทฤษฎีบูรณวาท มีดังต่อไปน้ี

            1) 	วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาก็คือ การส่งเสริมให้โรงเรียนมีบทบาทในการปฏิรูปสังคม
เพ่ือใช้การศึกษาเป็นปัจจัยในการสร้างสังคมใหม่ท่ีมีความเสมอภาคและความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น

            2) 	การศกึ ษาจะตอ้ งมพี นั ธกจิ ในการเสรมิ สรา้ งระเบยี บสงั คมใหม่ ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพการณ์
ทางสังคมและเศรษฐกิจของโลกในยุคปัจจุบัน

            3) 	สังคมใหม่จะต้องเป็นสังคมประชาธิปไตยที่แท้จริง โดยที่สถาบันและทรัพยากรท้ังหลาย
อยู่ในความควบคุมของประชาชน

            4) 	โรงเรยี นควรเนน้ อนาคตมากกวา่ ปจั จุบนั เพื่อจะได้เตรียมเยาวชนใหเ้ ปน็ ผใู้ หญท่ ด่ี ีส�ำหรบั
สังคมในอนาคต

            5) 	การจัดการศึกษาควรอาศัยผลการวิจัยค้นคว้าทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้น
            6) 	เดก็ โรงเรยี น และการศกึ ษาตกอยใู่ ตอ้ ทิ ธพิ ลของพลงั ทางสงั คมและวฒั นธรรม การศกึ ษา
จึงต้องมุ่งสร้าง “สัจการแห่งตนและสังคม” ให้เกิดข้ึน (Social self–realization)
       เพ่ือให้โรงเรียนมีบทบาทในการสร้างสังคมใหม่ตามแนวทฤษฎีน้ี นักการศึกษากลุ่มบูรณวาทจึงได้
จัดตั้งโรงเรียนชุมชนข้ึน เพ่ือให้โรงเรียนมีบทบาทเป็นศูนย์กลางของชุมชนและมีส่วนในการพัฒนาชุมชน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48