Page 44 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 44

1-34 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเก่ียวกับวิชาชีพครู

ทฤษฎีการศึกษา 4 ทฤษฎีที่กล่าวมาสรุปเป็นตารางเปรียบเทียบได้ดังน้ี

                                ตารางที่ 1.2 การเปรียบเทยี บทฤษฎกี ารศึกษาต่าง ๆ

 สารัตถวาท (Essentialism)       นิรันตรวาท (Perennialism)            พพิ ฒั นวาท                     บรู ณวาท
จุดเนน้                         จดุ เนน้                           (Progressivism)              (Reconstructionism)
หนทางแห่งการอนุรักษ์            หนทางย้อนสู่วัฒนธรรมอันดี     จดุ เน้น                       จุดเน้น
วัฒนธรรมของสังคม                งามในอดีต                     หนทางก้าวหน้าไปสู่การ          หนทางปฏิรูปเพ่ือสร้าง
หลักการ                         หลกั การ                      เปล่ียนแปลงทางสังคมและ         วัฒนธรรมใหม่
1. 	การศึกษาเป็นงานหนักท่ี      1. 	การศึกษาควรเป็นแบบ        วัฒนธรรม
	 จะต้องเรียนอย่างจริงจัง       	 เดียวกันส�ำหรับทุกคน        หลกั การ                       หลกั การ
2. 	ความคิดรเิ ร่ิมทางการศึกษา                                1. 	การศึกษา คือ ชีวิต         1. 	การส่งเสริมให้การศึกษามี
	 ควรมาจากครูมากกว่าเด็ก                                      	 โรงเรียนเป็นแบบจ�ำลอง        	 บทบาทในการปฏิรูปสังคม
	 ยึดครูเป็นศูนย์กลาง                                         	 ของสังคม                     	 ให้มีความเสมอภาคและ
3. 	หัวใจการศึกษา คือ การ                                                                    	 เป็นธรรมย่ิงข้ึน
	 จดจ�ำเน้ือหาวิชาท่ีก�ำหนด     2. 	การศึกษาเน้นการพัฒนา      2. 	การศึกษาควรจัดให้          2. 	การศึกษามีพันธกิจในการ
4. 	โรงเรียนควรเน้นระเบียบ      	 ความมีเหตุผลและรู้จักคิด    	 สอดคล้องกับความสนใจ          	 เสริมสร้างระเบียบสังคม
	 วินัยและการอบรมจิตใจ          	 ด้วยวิธีการแห่งปัญญา        	 ของผู้เรียน ยึดผู้เรียนเป็น  	 ใหม่
                                                              	 ศูนย์กลาง
ความส�ำคญั                                                                                   3. 	สังคมใหม่ต้องเป็น
ทฤษฎีน้ีเน้นความส�ำคัญของ       3. 	การศึกษาเน้นการแสวงหา     3. 	การเรียนรู้เน้นการ         	 ประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
ครูและเน้ือหาวิชา               	 ความรู้อันเป็นนิรันดร คือ   	 แก้ปัญหามากกว่ามุ่งสอน
                                	 ช่วยผู้เรียนปรับตัวเข้ากับ  	 เนื้อหา                      4. 	โรงเรียนต้องเน้นอนาคต
                                	 ความจริง                                                   	 มากกว่าปัจจุบัน

                                4. 	การศึกษาเป็นการเตรยี มตัว 4. 	บทบาทครูเป็นท่ีปรึกษา      5. 	การจัดการศึกษาควรอาศัย
                                	 เพ่ือด�ำเนินชีวิต มิใช่     	 มากกว่าออกค�ำส่ังเกี่ยวกับ   	 ผลการวิจัยทางพฤติกรรม
                                	 เลียนแบบชีวิต               	 การสอน                       	 ศาสตร์มากยิ่งข้ึน
                                                                                             6. 	การศึกษาต้องมุ่งสร้าง
                                5. 	เน้นการเรียนวิชาพื้นฐาน   5. 	โรงเรียนควรส่งเสริม        	 “สัจการแห่งตนและสังคม”
                                	 เพ่ือเข้าใจและเข้าถึง       	 ความร่วมมือมากกว่าการ        ความสำ� คัญ
                                	 ส่ิงถาวรของโลก              	 แข่งขัน                      ทฤษฎีน้ีเป็นต้นคิดของ
                                                                                             โรงเรียนชุมชน เพื่อให้
                                6. 	เน้นความเข้าใจลักษณะ 6. 	เน้นวิถีชีวิตและค่านิยม         โรงเรียนมีบทบาทเป็น
                                	 สากลของมนุษยชาติ            	 ประชาธิปไตย                  ศูนย์กลางชุมชน ร่วมพัฒนา
                                                                                             ชุมชน มีการใช้ทรัพยากร
                                ความสำ� คญั                   ความส�ำคญั                     ร่วมกันกับชุมชน
                                ทฤษฎีน้ีเน้นความส�ำคัญของ ทฤษฎีนี้ได้รับความนิยม
                                ครูและเนื้อหาวิชา แต่เน้นอดีต ท่ัวโลกหลังสงครามโลก
                                มากกว่าทฤษฎีสารัตถวาท ครั้งท่ี 2

ทม่ี า: 	ค ณะกรรมการกลุ่มผลิตชุดวิชาพ้ืนฐานการศึกษา (2545). เอกสารโสตทัศน์ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
     นนทบุรี: ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน้า 25-26.
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49