Page 61 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 61

ปรัชญา ทฤษฎีและแนวคิดทางการศึกษา 1-51

       ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคลและอาจจัดเป็นส่วนราชการหรือ
เป็นหน่วยงานในก�ำกับของรัฐ การบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยค�ำนึง
ถึงปริมาณสถานศึกษา จ�ำนวนประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอ่ืนด้วย เว้นแต่การจัดการศึกษา
ข้ันพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา ให้กระทรวงกระจายอ�ำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไปไปยังคณะกรรมการและส�ำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยตรง

       ส�ำหรบั การบริหารและการจดั การศกึ ษาส่วนทอ้ งถน่ิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มีสทิ ธจิ ัดการศึกษา
ในระดับใดระดับหน่ึงหรือทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถ่ิน ส่วน
การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชนให้มีความเป็นอิสระ โดยมีการก�ำกับ ติดตาม การประเมินคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ ทั้งน้ีรัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้น
ภาษีและสิทธิประโยชน์ในทางการศึกษาแก่สถานศึกษาเอกชน

       3.6 	มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา ในหมวด 6 มาตรา 47-51 ได้ระบุให้มีระบบการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก ให้มี
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาท�ำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพ
ภายนอก โดยให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหน่ึงครั้งทุกห้าปี

       3.7 	ครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในหมวด 7 มาตรา 52-57 ได้ระบุให้กระทรวงส่งเสริม
ให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ท่ีเหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพช้ันสูง ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ให้ครู
ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอ่ืน ท้ังของรัฐและเอกชนต้องมใี บอนญุ าต
ประกอบวิชาชีพ จัดให้มีองค์กรวิชาชีพ ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู ให้มีกฎหมายว่า
ดว้ ยเงนิ เดอื น ค่าตอบแทน สวสั ดกิ าร และสทิ ธปิ ระโยชน์เก้ือกูลอ่นื สำ� หรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาเพื่อให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพ

       3.8 	ทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา ในหมวด 8 มาตรา 58-62 ให้มีการระดมทรัพยากรและ
การลงทุนด้านงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ บุคคล ชุมชนท้องถ่ินและองค์กรต่าง ๆ มาใช้ใน
การจดั การศกึ ษา ใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ ใหแ้ กก่ ารศกึ ษาในฐานะทมี่ คี วามสำ� คญั สงู สดุ ตอ่ การพฒั นา
ท่ีย่ังยืนของประเทศ ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ ตาม
ความเหมาะสมและความจ�ำเป็น รวมท้ังให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษา

       3.9 	เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ในหมวด 9 มาตรา 63-69 ครอบคลุมการจัดโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ
ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การสง่ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ วทิ ยโุ ทรคมนาคม และการสอ่ื สารในรปู อน่ื เพอ่ื ใชป้ ระโยชน์
ในการศกึ ษาทกุ ระดบั และทกุ ประเภท สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การผลติ และพฒั นาแบบเรยี น หนงั สอื สอื่ สง่ิ พมิ พ์
วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พัฒนาบุคลากรท้ังด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของผู้เรียน ระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66