Page 65 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 65

ปรัชญา ทฤษฎีและแนวคิดทางการศึกษา 1-55

       1.3 	หลกั การของการศกึ ษาตลอดชวี ติ การศกึ ษาตลอดชวี ติ มแี นวคดิ และหลกั การในเชงิ ทฤษฎี สรปุ
ได้ดังน้ี การศึกษามีความจ�ำเป็นส�ำหรับบุคคลในทุกช่วงชีวิตต้ังแต่เกิดจนตาย บุคคลมีความสามารถท่ีจะ
เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต การศึกษามิได้สิ้นสุดเมื่อบุคคลจบจากโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา การศึกษาตลอด
ชีวิตเป็นภาพรวมของการศึกษาทั้งหมดครอบคลุมการศึกษาทุกประเภท ทุกระดับ การศึกษาตลอดชีวิตเน้น
ความเสมอภาคความเทา่ เทยี มกนั ในโอกาสทางการศกึ ษา การศกึ ษาตลอดชวี ติ ควรมคี วามยดื หยนุ่ หลากหลาย
รปู แบบและวธิ กี าร เพอ่ื เปดิ โอกาสใหท้ กุ คนเรยี นรไู้ ดท้ กุ สถานทที่ กุ เวลา ควรสรา้ งแรงจงู ใจใหบ้ คุ คลเหน็ ความ
ส�ำคัญของการเรียนรู้ จัดการศึกษาหรือการเรียนรู้ให้ผสมกลมกลืนไปกับการด�ำเนินชีวิต ให้อิสระแก่บุคคล
ในการเลอื กสงิ่ ทต่ี อ้ งการจะเรยี นรู้ สามารถเลอื กวธิ เี รยี นทเี่ หมาะสมกบั ความสามารถของตน การศกึ ษาตลอด
ชีวิตมุ่งให้บุคคลได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพึ่งตนเองได้ สิ่งที่ให้บุคคลเรียนรู้ควร
สมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ควรไดร้ บั ความรแู้ ละทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ในการดำ� เนนิ ชวี ติ และการประกอบอาชพี รวมทงั้
ทักษะในการแสวงหาความรู้หรือมีเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ต่อไป การศึกษามิได้เกิดขึ้นได้เฉพาะใน
สถาบันเท่านั้น แต่สามารถเกิดขึ้นได้ท่ีบ้าน ที่ท�ำงาน ศาสนสถาน สวนสาธารณะ และในชุมชน เพราะฉะนั้น
บ้านและชุมชนจึงเป็นแหล่งการศึกษาตลอดชีวิต และที่ส�ำคัญ การศึกษาตลอดชีวิตจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัย
ความร่วมมือกันของทุกฝ่ายทุกแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังประชาชนในชุมชน

2. 	การศกึ ษาทางเลอื ก

       2.1 	ความหมายของการศึกษาทางเลือก ในเรื่องของความหมายของการศึกษาทางเลือกน้ี มีผู้ให้
คำ� นยิ ามไวใ้ นหลายมติ แิ ละหลายลกั ษณะดว้ ยกนั ซง่ึ โดยภาพรวมแลว้ มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ในแกน่ ของแนวคดิ
แต่อาจจะมีความแตกต่างกันในบริบทของรายละเอียดปลีกย่อย อย่างไรก็ตามอาจจะวางกรอบของการนิยาม
ความหมายไว้กว้าง ๆ ว่า การศึกษาทางเลือกไม่ใช่เป็นเพียงแค่กระบวนการหรือวิธีการเท่าน้ัน แต่อาจจะเป็น
ความคิดเห็นในการมองการจัดการศึกษาที่สามารถจัดได้อย่างหลากหลายวิธีการ บนพ้ืนฐานของความเช่ือที่
ว่ามนุษย์สามารถที่จะเรียนรู้ได้ และสังคมมีหน้าที่ในการจัดสภาพแวดล้อมให้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาได้
ดงั นนั้ จงึ ไดร้ วบรวมใหเ้ หน็ ประเดน็ รายละเอยี ดอยา่ งชดั เจน ในความหมายของการศกึ ษาทางเลอื ก ดงั ตอ่ ไปนี้
(ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล, 2556)

       ส�ำนักเลขาธิการการศึกษา (สกศ.) แปลความหมายการศึกษาทางเลือกจาก Dictionary of
Education ในเอกสารอัดส�ำเนาไว้ดังนี้ การศึกษาทางเลือก (Alternative Education) เป็นการศึกษาเชิง
อุดมคติ เพ่ือแสดงถึงคุณลักษณะของรูปแบบการศึกษาท่ีไม่ใช่การศึกษาแบบเดิม มักจะถือว่าโรงเรียนเป็น
อิสระ (Free School) หรือเป็นการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ไม่มีสถาบันการศึกษา (Non-institutional) และยึด
หลักชุมชนเป็นหลัก (Community-based) ลดบทบาทของการจัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียน และหาก
เป็นการจัดการศึกษาในโรงเรียน ก็จะเป็นการจัดการศึกษาแบบก้าวหน้า (Progressive)

       สภาการศึกษาทางเลือก (2553) จากการประชุมสภาการศึกษาทางเลือกครั้งที่ 1 ได้นิยามของการ
ศึกษาทางเลือก คือ การศึกษาที่มีรูปแบบแตกต่างจากการศึกษากระแสหลัก เป็นการศึกษาท่ีมีขอบเขต
กว้างขวาง มีรูปแบบหลากหลายทั้งเน้ือหาและวิธีการเรียนรู้ มุ่งตอบสนองการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70