Page 39 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 39
มาตรฐานวิชาชีพครูและสมรรถนะครู 13-29
ด้านความรู้แบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ ความรู้ตามวิชาชีพครู ความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับ
วิชาเฉพาะ และความรู้ของแต่ละวิชาเอก
(1) ความร้ตู ามวิชาชีพครู (Pedagogical Knowledge) ครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้
- หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา วิชาชีพครู และความเป็นครู
- จิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการศึกษา
- การออกแบบและจัดการเรียนรู้
- การจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
- เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส�ำหรับครู
- การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา
- การวัดและประเมินผลการศึกษา
- การศึกษาพิเศษ
- การวิจัยทางการศึกษา
- การบริหารการศึกษาและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
(2) ความรเู้ ชงิ บรู ณาการระหวา่ งวชิ าชพี ครกู บั วชิ าเฉพาะ (Pedagogical Content Knowledge)
ครอบคลุมเรื่องต่อไปน้ี
- จิตวิทยาครูส�ำหรับการจัดการเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
- การพัฒนาหลักสูตรวิชาเฉพาะส�ำหรับการจัดการเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษาและ
วิชาเอก
- การจดั การเรยี นรวู้ ชิ าเฉพาะสำ� หรบั การจดั การศกึ ษาแตล่ ะระดบั การศกึ ษาและวชิ าเอก
- การจัดการช้ันเรียนแต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
- นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารทางการศกึ ษาสำ� หรบั การจดั การเรยี นรู้
แต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
- การวัดและประเมินผลการศึกษาวิชาเฉพาะส�ำหรับการจัดการเรียนรู้แต่ละระดับ
การศึกษาและวิชาเอก
(3) ความรู้ของแต่ละวิชาเอก แบ่งเป็น ความรู้ภาษาไทย ความรู้คณิตศาสตร์ ความรู้
วิทยาศาสตร์ส�ำหรับเอกท่ัวไป ความรู้วิทยาศาสตร์ส�ำหรับเอกฟิสิกส์ ความรู้วิทยาศาสตร์ส�ำหรับเอกเคมี
ความรู้วิทยาศาสตร์ส�ำหรับเอกชีววิทยา ความรู้สังคมศึกษา และความรู้ภาษาต่างประเทศ
3) ดา้ นทักษะทางปัญญา
(1) สามารถคิดค้นหาข้อเท็จจริง ท�ำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลสารสนเทศและแนวคิด
จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน การวินิจฉัย แก้ปัญหา และท�ำการวิจัยเพื่อพัฒนางาน
และพัฒนาองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
(2) สามารถคิดแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน เสนอทางออก และน�ำไปสู่การแก้ไขได้อย่าง
สร้างสรรค์ โดยค�ำนึงถึงความรู้ทางภาคทฤษฎี ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ