Page 29 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 29
วิถีครู ความเป็นครู และการพัฒนาวิชาชีพครู 14-19
ความนำ�
ความเป็นครู คือ ส่ิงท่ีผู้ประกอบวิชาชีพครูต้องมีและต้องเป็น ความเป็นครูท่ีจะกล่าวถึงในตอนท่ี
14.2 นี้ ไดแ้ ก่ จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู เจตคตติ อ่ วชิ าชพี ครู คณุ ลกั ษณะครู และจรรยาบรรณของความเปน็ ครู
ซึ่งลักษณะความเป็นครูเหล่าน้ีมีความส�ำคัญต่อวิชาชีพครู เช่น ท�ำให้คนเป็นครูท้ังชีวิตและจิตวิญญาณ
สง่ ผลใหค้ รแู สดงพฤตกิ รรมหรอื แนวโนม้ ทจ่ี ะแสดงพฤตกิ รรมตอ่ วชิ าชพี ครตู ามองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ในวชิ าชพี ครู
ทำ� ใหค้ รสู ามารถปฏบิ ตั งิ านและแกไ้ ขปญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ ทำ� ใหค้ รสู ง่ั งานการแสดงออกทางรา่ งกาย
ในเชิงบวก มีทักษะในการพัฒนาพลวัตของคนและสังคมเพ่ือท�ำให้เกิดผลกระทบทางบวกต่อคนและชุมชน
มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของวิชาชีพ และยึดหลักปฏิบัติได้ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผน
พฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เป็นต้น
เรื่องท่ี 14.2.1 จิตวญิ ญาณความเป็นครู
จิตวิญญาณความเป็นครูเป็นคุณสมบัติของผู้สอนที่ท�ำให้คนเป็นครูท้ังชีวิตและจิตวิญญาณไม่ใช่
เพียงเพราะมีอาชีพเป็นครูเท่านั้น จิตวิญญาณความเป็นครูมีความส�ำคัญต่อความเป็นครูเน่ืองจากผู้ประกอบ
วชิ าชีพครตู อ้ งสามารถอบรมสง่ั สอนศษิ ย์ รวมทัง้ เป็นต้นแบบทางคุณธรรม จริยธรรม การประพฤตปิ ฏิบัติตน
การด�ำรงชีวิต และการชี้น�ำสังคมไปในทางที่เหมาะสม
พะนอม แก้วก�ำเนิด (2550: 153) กล่าวถึงการมีจิตวิญญาณของความเป็นครูว่า คือ ศรัทธา เช่ือ
ด้วยความเคารพในความส�ำคัญ ความมีคุณค่าของบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาเยาวชน มีความผูกพัน ความ
มุ่งม่ันท่ีจะกระท�ำหน้าที่ให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต 2556: 10-28) กล่าวเก่ียวกับคุณสมบัติของผู้สอนท่ีแยกออก
เป็น 2 ส่วน คือ คุณสมบัติที่ปรากฏออกมาภายนอก อันได้แก่ บุคลิกภาพ และคุณสมบัติภายใน อันได้แก่
คุณธรรมต่าง ๆ สรุปได้ดังน้ี
1. บุคลิกภาพ
ผู้สอนควรมีบุคลิกลักษณะอันควรแก่การศรัทธา อากัปกิริยามารยาททุกอย่างท่ีงดงามน่าเล่ือมใส
เริ่มแต่สมบัติผู้ดีและมารยาทอันเป็นที่ยอมรับของสังคม ตลอดจนบุคลิกลักษณะท่ีเป็นเสน่ห์ทุกประการ
พร้อมไปด้วยความองอาจ ความสง่างาม ความสงบเยือกเย็น มีความสง่างามทางกาย มีเสียงท่ีโน้มน�ำจิตใจ
ก่อให้เกิดความรู้สึกเพลิดเพลินสุขใจ ชวนให้อยากฟังอยากใกล้ชิด