Page 36 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 36

14-26 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

                4) 	รจู้ กั ใชว้ จิ ารณญาณ ไตร่ตรองคาดการณ์ได้อย่างละเอียดรอบคอบ สามารถรับรู้และ
เช่ือมต่อข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว

            1.2.2 	คณุ ลักษณะดา้ นกระบวนการคิดอยา่ งฉลาด มีคุณลักษณะย่อย ได้แก่
                1) 	มกี ารรวบรวม ประมวล คดั สรร และดดั แปลง ขอ้ เทจ็ จรงิ ความรู้ และความคดิ อนื่ ๆ

เพ่ือให้ได้ความคิดใหม่ ๆ และทางแก้ปัญหาท่ีเป็นประโยชน์ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีข้ึน
                2) 	มีการไตร่ตรองถึงสถานการณ์ปัจจุบันและผลของการกระท�ำ โดยไตร่ตรองผลของ

การกระท�ำที่จะตามมาในภายหลังอย่างถี่ถ้วนและค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
                3) 	มกี ระบวนการคดิ ทหี่ ลากหลายและเปน็ การคดิ ทไ่ี มย่ ดึ ตดิ กรอบความคดิ เดมิ เช่น ใช้

การคิดแบบหมวก 6 ใบ การคิดสร้างสรรค์ การคิดก่อนคิด (เช่น คิดแนวข้าง คิดเป็นภาพ) การท�ำแผนภูมิ
ความคิด

                4) 	ขจดั อปุ สรรคในการคดิ เชน่ การยดึ ตนเองเปน็ สำ� คญั ความกลวั การปลอ่ ยใหอ้ ารมณ์
ครอบงำ� ความคดิ การตดิ กรอบความคดิ เดมิ ไมม่ ลี กั ษณะเปน็ นกั ฟงั ทดี่ หี รอื ไมม่ คี ณุ ลกั ษณะดา้ นการฉลาดฟงั

                5) 	ท�ำกิจกรรมท่ีส่งเสริมการคิดอย่างสร้างสรรค์ หรือการรับรู้อย่างสร้างสรรค์ เช่น
การเล่น การมีอารมณ์ดี กล้าที่จะแตกต่าง การก�ำหนดเป้าหมาย การใช้ค�ำถาม และการใช้งานปัญญาด้าน
ต่าง ๆ อย่างผสมผสาน

            1.2.3 คุณลักษณะที่สอดคล้องกับการคิดต่าง ๆ การคิดแต่ละอย่างมีความแตกต่างกันตาม
ลักษณะกระบวนการคิด จึงต้องการผู้คิดที่มีคุณลักษณะและทักษะสอดคล้องกับการคิดท่ีใช้ เช่น ผู้ท่ีใช้
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณต้องมีคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ คือ 1) ด้านทักษะการคิดพ้ืนฐาน เช่น
การจัดหมวดหมู่ 2) ด้านทักษะการคิดข้ันสูง เช่น การวิเคราะห์ และ 3) ด้านลักษณะนิสัย เช่น ใจกว้าง
เป็นธรรม เฟอร์เรท (Ferret, 1997 อ้างใน ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และอุษา ชูชาติ, 2544: 39) ได้อธิบายว่า ผู้คิด
อย่างมีวิจารณญาณต้องมีคุณลักษณะในด้าน 1) การคิดต้ังค�ำถาม 2) การมีความสนใจใฝ่รู้ ต้องการหา
ค�ำตอบใหม่ ๆ 3) การตอบค�ำถามได้ตรงประเด็น 4) การตรวจสอบข้อมูล ความเชื่อ 5) การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อสันนิษฐาน ความเห็นต่าง ๆ และหาข้อพิสูจน์ 6) การใช้เหตุผลจากข้อมูลท่ีเป็นจริงหรือจากข้อเท็จจริง
ต่าง ๆ 7) การตรวจสอบความคิดของตัวเอง 8) การรับฟังความเห็นผู้อ่ืน การยอมรับว่าตัวเองยังมีความรู้
ความเขา้ ใจไมม่ ากพอ เปลย่ี นความคดิ ได้ และ 9) การประเมนิ ขอ้ ถกเถยี ง และตดั สนิ เรอื่ งราวจากการรวบรวม
ข้อเท็จจริงท้ังหมด

       1.3 	การเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ เป็นการมองไปในอนาคต (future perspective) บ่งบอกสิ่งที่อยากจะ
เป็นในอนาคต และบอกทิศทางในอนาคต วิสัยทัศน์จึงเป็นภาพเหมือน (picture) ภาพลักษณ์ทางสมอง
(mental image) ภาพในใจ (mindscape) พมิ พเ์ ขยี ว (blueprint) หรอื ภาพในอนาคตทม่ี คี วามเฉพาะเจาะจง
(unique) ท่ีได้พัฒนาแล้ว (improved) และสามารถบรรลุถึงได้ (attainable) วิสัยทัศน์จึงแสดงความหวัง
ขอ้ สมมตฐิ านทไ่ี มม่ ถี กู หรอื ผดิ มคี วามเปน็ พลวตั คอื ไมห่ ยดุ นง่ิ ทจี่ ะใชต้ ลอดไป แตก่ ไ็ มใ่ ชส่ ง่ิ ทจี่ ะเปลย่ี นบอ่ ย
โดยปกติวิสัยทัศน์ที่ก�ำหนดไว้จะใช้ประมาณ 5 ปีจึงจะเปล่ียนแปลง วิสัยทัศน์จึงมีความส�ำคัญในการท�ำให้
มีทิศทางชัดเจนในการท�ำงาน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41