Page 27 - การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
P. 27

แนวคิดเกี่ยวกบั การรณรงคแ์ ละผลติ งานโฆษณา 1-17

หลักการพ้ืนฐาน
       1.	 การโฆษณาทุกชิ้นจะต้องถูกกฎหมาย มเี กยี รติ ซ่ือสัตย์ และน�ำเสนอความจรงิ
       2.	 การโฆษณาไม่ควรมคี วามขดั แยง้ กบั ศลี ธรรมอันดี และระเบยี บสังคม
       3.	 ในการสรา้ งสรรคง์ านโฆษณา ควรกระทำ� ดว้ ยการตระหนกั ถงึ การแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

และอยภู่ ายใตห้ ลกั ของการแข่งขนั ท่ียตุ ิธรรมทเ่ี ปน็ ทยี่ อมรบั โดยทว่ั ไปในวงการธรุ กิจ
       4.	 การโฆษณาตอ้ งไมท่ �ำใหส้ าธารณชนเกิดความรู้สึกไมม่ น่ั ใจในการโฆษณา

รายละเอียดการปฏิบัติ
       1.	 ประกอบวชิ าชพี ดว้ ยความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ตามหลกั ปฏบิ ตั แิ ละวชิ าการ และอยภู่ ายใตบ้ ทบญั ญตั ิ

แห่งกฎหมาย
       2.	 ไม่ท�ำการใดๆ อนั อาจนำ� มาซ่งึ ความเสอ่ื มเสยี เกียรตศิ กั ดแิ์ หง่ วิชาชีพ
       3.	 มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม และไม่กอ่ ใหเ้ กิดความเสือ่ มเสียในจรยิ ธรรม และวัฒนธรรมอันดี
       4.	 ไม่ควรกระทำ� การโฆษณาอันเป็นการดหู มนิ่ เช้ือชาติ ศาสนา หรอื ความเชอื่ หรอื สงิ่ อันเป็นที่

เคารพสกั การะของบุคคลท่ัวไป
       5.	 ไมค่ วรกระท�ำการโฆษณาอนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความสำ� คัญผิดในสาระส�ำคญั เกย่ี วกบั สนิ คา้ บรกิ าร

การแสดง หรืออื่นๆ หรอื โออ้ วดสรรพคณุ จนเกินความจรงิ จน ท�ำให้ผเู้ หน็ หรอื ผู้ฟังเกดิ ความสำ� คญั ผดิ
       6.	 ไม่ควรกระทำ� การโฆษณาโดยใช้ความเชอ่ื ถือเก่ียวกบั ไสยศาสตร์ หรือเรอื่ งโชคลางมาเปน็ ขอ้

จูงใจ
       7.	 ไมค่ วรกระทำ� การโฆษณาโดยการเลยี นแบบเครอื่ งหมายการคา้ คำ� ขวญั ขอ้ ความสำ� คญั หรอื

อืน่ ๆ จากการโฆษณาของผู้อืน่ อันทำ� ใหผ้ ูอ้ นื่ เห็น หรอื ผอู้ ืน่ ไดย้ นิ เกิดความเข้าใจผดิ หรอื ไขว้เขวเกี่ยวกับ
สินคา้ บริการ หรือการแสดงของผ้อู น่ื

       8.	 ไมค่ วรกระทำ� การโฆษณาโดยใช้ศัพท์ สถติ ิ ผลการวจิ ัย หรอื อา้ งอิงรายงานทางวิทยาศาสตร์
ในทางท่ีไม่สมควร หรือท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดโดยทสี่ นิ คา้ นนั้ ไมม่ คี ุณสมบตั ิตามทอี่ า้ ง

       9.	 ไม่ควรกระท�ำการโฆษณาโดยอ้างถึงตัวบุคคล หรือสถาบัน โดยท่ีตัวบุคคล หรือสถาบันน้ัน
ไม่มีตวั ตนอย่จู รงิ และไม่ได้ใชส้ นิ ค้าและบรกิ าร หรือชมการแสดงนน้ั จริง

       10.	ไมค่ วรกระทำ� การโฆษณาอนั อาจมีผล เป็นอันตรายต่อเดก็ หรือผเู้ ยาว์ ทั้งทางรา่ งกาย จิตใจ
หรือท�ำให้ขาดความรู้สึกผิดชอบ หรือโดยอาศัยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของบุคคลดังกล่าวมาใช้เป็น
เครอื่ งมอื ในการจงู ใจโดยไม่สมควร

       นอกจากนี้ ยงั มีการควบคุมดแู ลงานสร้างสรรคโ์ ฆษณาโดยภาครฐั เช่น ส�ำนกั งานคณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) เป็นองค์กรหลักในการก�ำกับดูแล และควบคุมโฆษณา คณะกรรมการอาหาร
และยา กระทรวงสาธารณสขุ ทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ โฆษณาเกย่ี วกบั อาหาร ยา และเครอื่ งสำ� อาง คณะกรรมการ
การแข่งขันทางการค้า กระทรวงพาณิชย์ ท�ำหน้าท่ีป้องกันการผูกขาดทางการแข่งขันทางธุรกิจ
คณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ท�ำหน้าที่
ควบคุมดูแลการโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ โดยจะรวบรวมข้อมูลผู้กระท�ำผิดแล้วประสานยังหน่วยงานท่ี
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32