Page 41 - การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
P. 41
แนวคิดเกี่ยวกบั การรณรงคแ์ ละผลติ งานโฆษณา 1-31
มหาศาลไปอยา่ งเปลา่ ประโยชน์ ดงั นน้ั จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทบี่ รษิ ทั และนกั วางแผนโฆษณาตอ้ งตดั สนิ ใจอยา่ ง
รอบคอบในการแบง่ กลมุ่ และเลอื กผบู้ รโิ ภคเปา้ หมาย (Segment Target) เพอื่ ทมุ่ งบประมาณและความสนใจ
ใหค้ นเหล่านนั้
การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายทางการตลาดและทางการโฆษณา แบ่งเปน็ 5 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
1. การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคตามลักษณะทางทะเบียนภูมิหลัง หรือลักษณะทางประชากร-
ศาสตร์ (Demographic Stratification) หมายถงึ การแบง่ ผบู้ รโิ ภคตามอายุ เพศ รายได้ การศกึ ษา อาชพี
สถานภาพทางครอบครวั ซง่ึ จะเปน็ การอา้ งองิ ตวั เลขสถติ ทิ างดา้ นทะเบยี นภมู หิ ลงั ทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การศกึ ษา
ถงึ ลักษณะการใช้สนิ คา้ ของแตล่ ะกลุ่ม เชน่ วัยรนุ่ ชอบซอ้ื แผน่ เสียง เด็กชอบเล่นของเลน่ เป็นตน้
2. การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคตามลักษณะภูมิศาสตร์ (Geographic Stratification) หมายถึง
การแบง่ กล่มุ ตามอาณาเขตท่อี ยูอ่ าศัย สภาพภมู ิอากาศ ท้ังนี้ เพราะคนทอี่ ยตู่ ่างถิน่ กันจะมคี วามตอ้ งการ
สินค้าที่แตกต่างกัน เช่น คนภาคเหนือของประเทศไทยต้องการเส้ือกันหนาวมากกว่าคนภาคใต้ท่ีไม่มี
ฤดูหนาว เปน็ ตน้
3. การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคตามลักษณะของกลุ่มในสังคม (Socioeconomic Stratification)
หมายถึง การแบ่งผบู้ รโิ ภคตามลกั ษณะกลมุ่ ทางสงั คม หรอื ชนช้นั ตา่ งๆ (Class) โดยจดั ตามรายได้ การ
ศกึ ษา อาชีพ สถานะทางสงั คมของคนในแต่ละกล่มุ ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี
1) กลุ่มคนที่รวยท่ีสุด (Upper Class-A) เป็นพวกอัครมหาเศรษฐี มักใช้สินค้าท่ีมี
ราคาแพง หรหู รา ฟ่มุ เฟือยจากต่างประเทศ
2) กลุ่มคนท่ีมีฐานะดี (Upper Middle Class-B) เป็นพวกมีความส�ำเร็จในอาชีพ
มีรายได้ดี มที รพั ยส์ มบัติพอสมควร กลมุ่ คนพวกนี้สรา้ งตัวจากความสามารถ
3) กลมุ่ คนทมี่ ฐี านะปานกลาง (Lower Middle Class-C) เปน็ กลมุ่ คนทมี่ ฐี านะพอกนิ
พอใช้ เลี้ยงครอบครัวได้ ไม่มีหน้ีสิน มีเงินเหลือเก็บอยู่บ้าง เป็นพวกที่อยู่ในช่วงสร้างเนื้อสร้างตัว
สามารถมกี ำ� ลงั ซอื้ เครอื่ งอำ� นวยความสขุ ไดพ้ อสมควร เชน่ สมารท์ โฟน คอมพวิ เตอร์ โทรทศั น์ เครอื่ งเลน่
ดวี ดี ี เปน็ ตน้ ทงั้ แบบจา่ ยสดและจา่ ยผอ่ น และมกี ำ� ลงั ทรพั ยพ์ อทจี่ ะไปเทยี่ วพกั ผอ่ นตา่ งจงั หวดั ได้ คนกลมุ่ น้ี
มคี วามพอใจทจ่ี ะซอ้ื สนิ คา้ ในระดบั ปานกลาง และใหค้ วามสำ� คญั กบั ความคมุ้ คา่ ของเงนิ ทใ่ี ชใ้ นการซอ้ื สนิ คา้
อย่างมาก
4) กลุ่มคนที่มีรายได้น้อยถึงปานกลาง (Upper Lower-D) เปน็ กลมุ่ ท่ีคอ่ นขา้ งใหญ่
ในประเทศไทย มอี าชพี รบั จา้ ง ขา้ ราชการชนั้ ผนู้ อ้ ย ผใู้ ชแ้ รงงาน คนกลมุ่ นจี้ ะมรี ายไดน้ อ้ ยแตถ่ า้ ขยนั ท�ำงาน
พิเศษกอ็ าจมเี งินเหลอื เก็บบ้าง สามารถซ้อื สนิ คา้ ระดบั ปานกลางถึงตำ่� และราคาถกู
5) กลุ่มคนท่ีมีรายได้น้อยมาก (Lower Lower Class-E) เปน็ กลมุ่ คนทม่ี จี ำ� นวนมาก
ที่สุดในประเทศไทย เป็นกลุ่มคนท่ีมีรายได้น้อยและไม่แน่นอน เช่น เกษตรกรท่ีไม่มีท่ีดินเป็นของตัวเอง
ผู้ใช้แรงงานประเภทหาเช้ากินค่�ำ คนพวกนี้จะมีก�ำลังซ้ือน้อย สินค้าท่ีขายต่อคนกลุ่มน้ีจะมีลักษณะท่ีเน้น
ราคาถูก และปริมาณมากเป็นหลัก
4. การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคตามลักษณะทางจิตวิทยา (Psychological Stratification) คือ
ความพยายามหาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคด้วยการค้นคว้าวิจัยตามหลัก