Page 25 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 25
การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 1-15
ความแตกต่างระหว่างสองสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่เห็นชัดคือ ลักษณะของมาตรฐานการเรียนรู้มลรัฐ
หลุยส์เซียนา แบ่งเป็นหัวข้อหลัก (Topic) ท่ีแสดงถึงจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีชัดเจน เช่น
ก. สาระภาษาและวัฒนธรรมประกอบด้วย การให้ความส�ำคัญต่อการฝึกปฏิบัติ (Practices) และ
ผลผลิต (Products) ในขณะที่ของประเทศไทยมาตรฐานขียนมาตรฐานอย่างคร่าว ๆ เพ่ือให้ผู้สอนได้ท�ำ
การตีความก่อนน�ำไปใช้ในห้องเรียน โดยเน้นให้เกิดความเข้าใจทางวัฒนธรรมในภาพรวม
ข. สาระภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลกของไทยประกอบด้วยมาตรฐานที่คาดหวังให้ผู้เรียน
ภาษาสามารถเผชิญกับเหตุการณ์ที่หลากหลายทั้งในบริบทการศึกษา ในชุมชนและสังคม ในขณะท่ีมาตรฐาน
ที่ใช้ในการเรียนของรัฐหลุยส์เซียนาแบ่งระดับของความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับชุมชนตามบริบทของผู้เรียน
คือระดับท่ีใช้ในการเรียน ระดับที่ใช้ในการศึกษาด้วยตนเอง และระดับท่ีใช้ในการงานอาชีพ ที่มีความส�ำคัญ
ต่อการน�ำภาษาไปใช้เพื่อชุมชน
หลักสูตรอิงมาตรฐานของประเทศไทย หรือหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มี
องค์ประกอบหลักดังนี้คือ
1) วิสัยทัศน์ หลักการ และจุดหมายของหลักสูตร
2) มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
3) สมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียน
4) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551ให้รายละเอียด
แต่ละองค์ประกอบดังนี้
1) วิสัยทัศน์ หลักการ และจุดหมายของหลักสูตร วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานคือการมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นก�ำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย
ความรู้ คุณธรรม มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จ�ำเป็นต่อ
การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั บนพน้ื ฐานความเชอ่ื วา่
ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีหลักการท่ีส�ำคัญ ดังน้ี
(1) เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้
เป็นเป้าหมายส�ำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความ
เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
(2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ
ภาคและมีคุณภาพ
(3) เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทส่ี นองการกระจายอำ� นาจ ใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา
ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
(4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ
เรียนรู้