Page 30 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 30

1-20 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

องค์ความรู้ (Knowledge) ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ (Process) และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
หรือคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม (Attitude) ตามท่ีได้ระบุไว้ใน พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545)

       การท่ีได้เข้าใจถึงอิทธิพลของกระแสการศึกษาที่มีต่อระบบการศึกษาไทยท่ีเป็นท่ีมาของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 น้ันท�ำให้เราเกิดความเข้าใจมากข้ึนถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบอิงมาตรฐานท่ีค�ำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนท่ีพร้อมด้วยความรู้ ความสามารถตามคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์และมีความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการแก้ปัญหา ความ
สามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ท่ีเป็นความสามารถตามสมรรถนะท่ีส�ำคัญ
ของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 ในฐานะท่ีเป็นประชากรของประเทศไทยและประชากรโลก

       ข้อมูลในตอนน้ีเป็นข้อมูลส�ำหรับผู้สอนท่ีต้องท�ำความเข้าใจเพราะเมื่อเข้าสู่ขั้นตอนการจัดท�ำหน่วย
การเรียนรู้ ข้อมูลเช่น สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และอื่น ๆ ดังท่ีกล่าวมา
นน้ั เปน็ ขอ้ มลู ทผี่ สู้ อนตอ้ งทำ� ความวเิ คราะหแ์ ละนำ� ไปผนวกกบั การออกแบบการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถนำ� พาผเู้ รยี น
ให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. 	ปรชั ญาการศึกษาและแนวคดิ ทรี่ องรบั การจดั การเรียนการสอนองิ มาตรฐานในประเทศไทย

       การพัฒนาทางด้านการศึกษาในประเทศไทยได้รับอิทธิพลจาก 2 ปรัชญาหลัก คือ ปรัชญาสาขา
พิพัฒนาการนิยม และปรัชญาสาขาสังคมปฏิรูปนิยม ซ่ึงเป็นปรัชญาที่มีบทบาทมากในยุคหลังสมัยใหม่
(Kulsiri, 2008) ก่อนท่ีจะท�ำศึกษาเก่ียวกับความสัมพันธ์ของทั้งสองปรัชญากับการเรียนการสอนภาษา
ต่างประเทศภายใต้หลักสูตรอิงมาตรฐานน้ัน ควรศึกษาสาระส�ำคัญของปรัชญาอย่างสั้น ๆ ดังนี้

       1)	 ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) หมายถึง การจัดการศึกษาที่มุ่งท่ีผู้เรียน
และกระบวนการเรียนมากกว่าที่ผู้สอนและเนื้อหาท่ีจะสอนหรือการเป็นเลิศทางสติปัญญาของผู้เรียน โดยมี
นักการศึกษาท่ีเป็นที่รู้จักคือ จอนห์ ดิวอ้ี (John Dewey) ที่น�ำเสนอแนวคิดท่ีว่า การจัดการเรียนการสอน
คือการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่ใช่การให้เนื้อหา และเปียเจต์ (Piaget) ท่ีเชื่อว่าผู้เรียน
สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในการสร้างความหมายจากสิ่งต่าง ๆ
ทเ่ี รยี นด้วยตนเองเปน็ กระบวนการส�ำคัญของการเรยี นรู้ ดังนั้นจงึ เป็นท่มี าของการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้น
ให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือท�ำ  ลงมือคิด (Active learners) และผู้สอนเป็นผู้ช่วยและกระตุ้นกระบวนการหา
ความหมาย ท�ำความเข้าใจกับเร่ืองท่ีเรียน (Facilitators) ไม่ใช่ผู้ออกค�ำส่ัง โดยเน้นว่าผู้เรียนควรมีความ
เข้าใจและตระหนักในตนเอง โดยการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดทิศทางของการพัฒนาตนเอง จากความ
สนใจและปัญหาของตนเอง จึงเป็นการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง (Kulsiri, 2008)
การจัดการเรียนการสอนจึงเน้นกิจกรรมท่ีท�ำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา คือ ให้ผู้เรียนได้เกิดการ
เรียนรู้จากการค้นหาวิธีท่ีจะน�ำมาซึ่งแก้ไขปัญหา กระตุ้นให้เกิดเรียนด้วยการปฏิบัติ (Learning by doing)
ไม่ใช่การเรียนแบบท่องจ�ำ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35