Page 31 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 31
การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีอิงมาตรฐานการเรียนรู้ 1-21
2) ปรชั ญาการศกึ ษาสงั คมปฏริ ปู นยิ ม (Social reconstructionism) คอื แนวความคดิ ของนกั ปรชั ญา
ตะวันตกกลมุ่ สงั คมปฏริ ปู นยิ มทต่ี ้องการการปฏิรปู สงั คมทีเ่ ต็มไปดว้ ยความเหลอื่ มล้าํ และการควบคุมอ�ำนาจ
ของผู้แสวงหาผลประโยชน์ แนวความคิดปรัชญาสังคมปฏิรูปนิยมมีความเช่ือเกี่ยวกับผู้เรียน ผู้สอน
กระบวนการเรียนรู้ เช่นเดียวกับปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมแต่แนวความคิดปรัชญาสังคมปฏิรูปนิยมให้
ความส�ำคัญต่อการให้ผู้เรียนเป็นส่วนหน่ึงของสังคมมากกว่า ดังนั้นองค์ความรู้ของผู้เรียนไม่ได้เกิดข้ึนจาก
การปฏิสัมพันธ์กับความคิดของตนเอง แต่เป็นการปฏิสัมพันธ์กับสังคม สร้างองค์ความรู้ที่เอ้ือประโยชน์ต่อ
สังคม (Kulsiri, 2008)
อกี สาระสำ� คญั คอื มมุ มองของหนา้ ทขี่ องสถานศกึ ษา ทไ่ี มค่ วรจะเนน้ ทก่ี ารถา่ ยทอดความรเู้ พยี งอยา่ ง
เดียวเท่าน้ัน แต่จะต้องปฏิรูปสังคมด้วยโดยการท�ำให้สถานศึกษาและสังคมไม่แยกจากกัน ท้ังน้ีเพราะกลุ่ม
สังคมปฏิรูปนิยมมองว่าสังคมก�ำลังอยู่ในช่วงวิกฤต มนุษย์มีสติปัญญา มีเทคโนโลยี มีศักยภาพทางด้าน
ศลี ธรรมจงึ ควรทจี่ ะหนั มาปฏริ ปู สงั คม โรงเรยี นจงึ เปน็ แหลง่ สำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งวางแผน ดำ� เนนิ การใหม้ กี ารปฏริ ปู
สังคมเป็นสังคมอุดมปัญญา (Knowledge-based soceity) และท�ำให้การจัดการเรียนการสอนมีความ
ยืดหยุ่นตามสถานการณ์และบริบทของสังคมน้ัน ๆ
จากแนวคิดโดยสังเขปของท้ังสองปรัชญา เห็นได้ชัดเจนว่าแนวความคิดของการจัดการเรียน
การสอนที่อิงมาตรฐานการเรียนรู้ของไทยได้รับอิทธิพลจากทั้งสองปรัชญาเป็นอย่างมาก ต่อไปจะเป็นการ
ขยายความ ทฤษฎีและแนวคิดต่าง ๆ ท่ีเกิดจากทั้งสองปรัชญาเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ี
อิงมาตรฐานการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็นหัวข้อที่เป็นแนวคิดหลักของการจัดการเรียนการสอนที่อิงมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และตามหลักสูตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ดังน้ี
ก. แนวคดิ การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำคญั และหลกั สตู รเชงิ กระบวนการ (Learner-
centred and curriculum as process)
ข. แนวการสร้างนักวิพากษ์ท่ีรู้จักคิดวิเคราะห์ (Critical thinkers)
ค. แนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบหัวเรื่องและโครงงาน (Thematic and project-
based learning)
ก. แนวคดิ การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั และหลกั สตู รเชงิ กระบวนการ (Learner-
centred and curriculum as process) ดิวอ้ี (Dewey, 1963, p.37) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนการสอน
แบบเก่าที่ตรงกันข้ามกับแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญโดยการเรียนการสอนแบบ
เก่ามีลักษณะเป็น
- การเรียนการสอนท่ีถูกควบคุมจากผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญซ่ึงตรงกันข้ามกับการเรียน
การสอนท่ีการสร้างบรรยากาศห้องเรียนท่ีมีกิจกรรมที่หลากหลาย ท่ีให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ท่ีหลากหลาย
- การเรียนรู้จากการเรียนส่วนเล็ก ๆ ขององค์ความรู้และท่องจ�ำข้ึนใจซ่ึงตรงกันข้าม
กับการเรียนที่ได้เป็นผู้แสวงหาและสร้างองค์ความรู้เอง