Page 36 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 36

1-26 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

	 ตารางท่ี 1.3	ความแตกตา่ งระหว่างแนวคดิ ดั้งเดิมและแนวคิดรว่ มสมยั ที่เปน็ กรอบแนวคดิ
		  ที่รองรับการจัดการเรยี นการสอนทีอ่ ิงมาตรฐานการเรียนรู้

   แนวคิดแบบด้งั เดมิ (Traditonal Apppraoch)         แนวคดิ ร่วมสมยั (Contemporary Appraoch)

1)	 แ นวการเรียนการสอนที่เน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง  1)	 แนวการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
  (Teacher-centeredness)                           	 (Learner-centeredness)

2)	 แ นวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผลผลิต      2)	 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการ
	 (Product oriented)                               	 (Process oriented)

3)	 แนวการสร้างนักเป็นเลิศทางปัญญา                 3)	 แนวการสร้างนักวิพากษ์ที่รู้จักคิดวิเคราะห์
	 (Academic excellence)                            	 (Critical action excellence)

4)	 แนวคิดการเรียนแบบแยกส่วนเน้ือหาจากง่าย         4)	 แนวคิดการเรียนแบบโครงงานและหัวเร่ือง
	 ไปยาก (Part ot whole learning)                   	 (Thematic learning)

5)	 แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรผลผลิต                   5)	 แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรเชิงกระบวนการ
	 (Curriculum as product)                          	 (Curriculum as process)

       เรื่องท่ี 1.1.2 นี้ สามารถสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนท่ีอิงมาตรฐานการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึง
ของทิศทางการพัฒนาการศึกษานานาชาติท่ีเน้นเร่ืองของการใช้มาตรฐานการเรียนรู้ในการพัฒนาการศึกษา
ทง้ั ในประเทศฝง่ั ตะวนั ออกและตะวนั ตก โดยเปลยี่ นแนวทางการพฒั นาการเรยี นการสอนทเ่ี รม่ิ จากหนว่ ยงาน
ส่วนกลางท่ีผ่านกระบวนการกล่ันกลองเป็นล�ำดับข้ันตอน มาเป็นการให้ความส�ำคัญต่อการจัดการเรียน
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญและให้ความส�ำคัญกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น เปิดโอกาสทาง
การศกึ ษาโดยใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนมคี วามยดื หยนุ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น

       มีปรัชญาการศึกษาท่ีส�ำคัญสองปรัชญาท่ีรองรับการจัดการเรียนการสอนท่ีอิงมาตรฐานการเรียนรู้
คือ ปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) และปรัชญาสาขาสังคมปฏิรูปนิยม (Social Recon-
structionism) ทั้งสองปรัชญามีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และตามหลักสูตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551

       เม่ือผู้สอนได้เข้าใจอย่างลึกซ้ึงในที่มาของหลักสูตรอิงมาตรฐานในประเทศไทยและปรัชญาท่ีรองรับ
การจัดการเรียนการสอนท่ีอิงมาตรฐานการเรียนรู้ก็จะสามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ภาษาอังกฤษท่ีอิง
มาตรฐานการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

              หลังจากศึกษาเน้ือหาสาระเร่ืองที่ 1.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 1.1.2
                      ในแนวการศึกษาหน่วยท่ี 1 ตอนที่ 1.1 เรื่องท่ี 1.1.2
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41