Page 38 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 38
1-28 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
ฟงั พดู อา่ นและเขยี นเพอื่ ตดิ ตอ่ สอื่ สารทง้ั เพอ่ื เปา้ หมายทางการทตู การคา้ และเพอ่ื การศกึ ษาถงึ ความกา้ วหนา้
ทางการศกึ ษาจากตา่ งประเทศ ในปี พ.ศ. 2521 แนวทางการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร (Com-
municative language teaching approach) ได้เกิดข้ึนตามนโยบายการขับเคล่ือนการศึกษาตามแผน
พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแห่งชาติ และเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีเน้นการสื่อสาร
ควบคู่ไปกับความต้องการของสังคม
ในปจั จบุ นั การปฏริ ปู การศกึ ษาภายใตก้ ารเคลอื่ นไหวทางการศกึ ษาของยคุ โลกาภวิ ตั นท์ ำ� ใหก้ ารศกึ ษา
ไทยเข้าสู่ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษจึงถูกน�ำมาใช้ในเป้าหมายที่กว้างขวางมากขึ้นกล่าวคือ
เพื่อใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูลท่ีหลากหลาย ดังนั้นจุดมุ่งหมายส�ำคัญของการจัด
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษภายใต้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 คือ การเตรียม
ความพร้อมผู้เรียนให้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการพัฒนาประชากรไทยให้มีความรู้ความสามารถเพื่อ
ความอยู่รอดในยุคศตวรรษที่ 21 ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการแข่งขันในด้านเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง ดังน้ัน สามารถสรุปเป้าหมายของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้ท้ังส้ิน 3 เป้าหมายคือ
1. เพ่ือเสริมสร้างคุณภาพทางการศึกษาโดยการสร้างให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถน�ำ
ความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ได้
2. เพื่อสร้างผู้เรียนท่ีพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรมรู้จักรักษาวัฒนธรรม ประเพณีไทยและเข้าใจ
วัฒนธรรมของชาติอ่ืน ๆ ด้วย
3. เพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่คิดเป็น ต่อยอดความรู้ด้านวัฒนธรรม เพ่ือการพัฒนาด้านสังคม เศรษฐกิจ
และการเมืองในสังคมพหุสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากขา้ งตน้ สรปุ ไดว้ า่ ในฐานะทผ่ี สู้ อนเปน็ บคุ คลสำ� คญั ตอ่ การจดั การเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ
ผู้สอนจึงต้องศึกษาเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศตามนโยบายของประเทศเพ่ือให้
มั่นใจได้ว่าการจัดการเรียนการสอนนั้นสามารถน�ำพาผู้เรียนไปถึงผลลัพธ์ท่ีคาดหวังดังเช่นท่ีได้เขียนไว้ใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545) และหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน 2551
2. บทบาทของผสู้ อน
เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาเป็นไปในทิศทางท่ีพึงประสงค์และมีประสิทธิภาพสูงสุด ผู้สอนเป็นผู้ที่มี
บทบาทส�ำคัญในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย โดยผู้สอนจะต้องเปลี่ยนแปลงแนวคิด วิธีการ รูปแบบการสอน
และกระบวนทัศน์การท�ำงาน ( Paradigm shift ) จากแนวคิดเดิมสู่ปรัชญาแนวคิดและแนวปฏิบัติใหม่
การจดั การเรียนการสอนทอ่ี ิงมาตรฐาน ผ้สู อนตอ้ งปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมการท�ำงานและบทบาทจาก
ผู้ท่ีสอน ผู้ช้ีน�ำ ผู้ถ่ายทอด มาเป็น ผู้น�ำในการเรียนรู้ (Teacher as leader) ผู้สอนไม่ใช่ผู้รู้ แต่กลับเป็นผู้ท่ี
แสวงหาความรู้ไปพร้อมกับผู้เรียน เป็นผู้เอื้ออ�ำนวยความสะดวก ช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในการ
แสวงหาความรู้ โดยเสนอแนะวิธีการการเรียนรู้ให้ผู้เรียนลงมือเรียนรู้ และค้นพบความรู้จากการปฏิบัติของ