Page 34 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 34

1-24 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

สังคมและการเมือง (Wallace, 2002, 2003) และการเรียนภาษาน้ันไม่ได้เน้นท่ีทักษะด้านการพูดอย่างท่ี
แนวทางการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร (Communicative language teaching) ให้ความส�ำคัญ แต่
เป็นการพัฒนาผู้เรียนภาษาให้สามารถ อ่านออก เขียนได้และคิดวิเคราะห์เป็น (Critical literate language
leaner) มากกว่า

            วอลล์เลส (Wallace, 2002) กล่าวอีกว่าการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไม่ได้จ�ำกัดอยู่ที่ภาษา
องั กฤษแบบประเทศองั กฤษหรอื แบบประเทศสหรฐั อเมรกิ า คานาการาจาฮ์ (Canagarajah, 1999) เพมิ่ เตมิ วา่
ผเู้ รยี นภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศหรอื ภาษาทสี่ องควรทจ่ี ะพฒั นาความคดิ เชงิ วพิ ากษแ์ ละไตรต่ รองวา่
ควรจะยอมรับการครอบง�ำของประเทศทั้งสองในด้านการเรียนรู้ภาษาหรือไม่อย่างไร

            โตฮ์ (Toh, 2003) กลา่ ววา่ แนวความคดิ ทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นภาษามคี วามสามารถอา่ นออก เขยี นได้
และคิดวิเคราะห์เป็นมีประโยชน์กับผู้เรียนภาษาอังกฤษในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น
อย่างมาก เพราะความสามารถในอ่านออกเขียนได้และคิดวิเคราะห์เป็นท�ำให้ผู้เรียนภาษาได้พัฒนาเกินจาก
การอ่านได้ เขียนได้ พูดได้ เช่น การแปล การสรุปใจความจากเร่ืองที่อ่าน แต่จะท�ำให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์
ข้อมูลจากสื่อที่หลากหลาย เป็นผู้รับสื่อที่มีสติ หรืออีกนัยนึงก็คือ นอกจากการมองการเรียนการสอนภาษา
องั กฤษทเี่ นน้ ทก่ี ารเรยี นรทู้ กั ษะทางภาษา หรอื การเรยี นรู้ เนอ้ื หาวฒั นธรรมทอี่ าจลา้ สมยั ไปแลว้ แนวความคดิ
ในการอ่าน ออก เขียนได้และคิดวิเคราะห์เป็นในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศควรได้รับการเผยแพร่
ให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษท่ีสามารถการอ่าน ออก เขียนได้และคิดวิเคราะห์เป็น

            แนวคิดการพัฒนานักวิพากษ์ที่รู้จักคิดวิเคราะห์นั้นเป็นแนวคิดที่ส�ำคัญในการพัฒนาผู้เรียน
ภายใต้หลักสูตรอิงมาตรฐานการเรียนรู้ให้มีความสามารถการคิดวิเคราะห์ ไม่ใช่เป็นแค่ผู้ที่รับข่าวสารอย่าง
เดียวแต่สามารถคิดไตร่ตรองพิจารณา แยกแยะ คิดเป็นตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกน
กลาง

            ค.	 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบหวั เรอ่ื งและโครงงาน (Thematic and project-based
learning) การจัดการเรียนการสอนแบบหัวเร่ืองหรือโครงงาน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เร่ิมจากการให้
โอกาสผู้เรียนเลือกโครงงานที่ตนสนใจและให้ความส�ำคัญต่อการจัดกระบวนการการเรียนรู้ ไวก๊อตสก้ี
(Vygotsky) ผู้น�ำทฤษฎีปรัชญาสาขาสังคมปฏิรูปนิยม กล่าวว่า การเรียนรู้ท่ีถูกจัดข้ึนจากหัวเรื่อง (Theme)
และโครงงาน (Project) เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ท่ีเน้นการท�ำกิจกรรมท่ีสร้างองค์ความรู้จากการลงมือ
จัดท�ำภาระงานโดยท่ีผู้เรียนจะพบกับความซับซ้อน (Complexity) ของการท�ำกิจกรรมและการแสวงหา
กระบวนการที่จะท�ำให้ได้มาซ่ึงภาระงาน ซึ่งตรงกันข้ามกับการจัดการเรียนการสอนภาษาแบบด้ังเดิมท่ีแยก
ภาษาเป็นหน่วยเล็ก ๆ (Discrete item) ก่อนแล้วจึงผนวกความรู้หน่วยย่อยเข้าด้วยกัน (Part to whole)
ซ่ึงไม่ใช่กระบวนการสร้างองค์ความรู้ (Lian, 2006)

            ไวก๊อตสกี้ กล่าวว่าการเลือกหัวเร่ืองนั้นผู้เรียนจะต้องไม่ค�ำนึงถึงแต่ความต้องการหรือความ
สนใจของตนเองเพียงอย่างเดียว แต่ควรให้ความส�ำคัญกับเรื่องราวต่าง ๆ รอบตัวท้ังในสถานศึกษาและนอก
สถานศึกษา และเนื้อหาท่ีน�ำมาท�ำเป็นหัวเรื่องท่ีท�ำการศึกษาและโครงงานควรสะท้อนถึงสภาพปัญหาของ
สังคม (Langford, 2005)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39