Page 32 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 32

1-22 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

                -	 การเรียนรู้เพื่อเตรียมตัวผู้เรียนกับเหตุการณ์ในอนาคตท่ีไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะ
เกิดหรือไม่ ซึ่งตรงกันข้ามกับการสร้างโอกาสในการใช้ความรู้ในชีวิตปัจจุบัน

                -	 การเรียนรู้ที่เน้นผลอย่างเดียวตรงกันข้ามกับการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการเพื่อให้ได้
มาซ่ึงผลน้ัน ๆ

            การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญจะเน้นกระบวนการท่ีได้มาซึ่งความรู้เป็น
ส�ำคัญ และเมื่อการเรียนการสอนเน้นท่ีกระบวนการ หลักสูตรจึงเป็นหลักสูตรที่เน้นกระบวนการด้วย
(Stenhouse, 1975) ซ่ึงแตกต่างจากหลักสูตรแบบเก่าถูกเรียกว่า หลักสูตร คือ ผลผลิต (Curriculum as
product) หมายถึงเม่ือผู้สอนได้มีการวางแผนการสอนและเขียนแล้วนั้นจะไม่สามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลง
ตามสถานการณ์ได้ ซ่ึงตรงกันข้ามหลักสูตรเชิงกระบวนการเป็นท่ีสามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงได้เสมอ
การเปลี่ยนแปลงจะเกิดจากการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

            การจัดการเรียนการสอนจะเน้นกระบวนการท่ีจะท�ำให้เกิดการเรียนรู้ท้ังปัจจุบันและอนาคต
ในทางปฏบิ ตั นิ นั้ ตอ้ งการผสู้ อนทมี่ คี ณุ ภาพทเ่ี ขา้ ใจกระบวนการเชน่ การสรา้ งความหมาย (Meaning making)
กระบวนการถกเถียง (Negotiation) และการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเพ่ือซ่ึง
ได้มาถึงข้อสรุปท่ีสามารถตอบสนองความสนในและความต้องการ ซ่ึงรวมถึง กระบวนการในการแสวงหา
ความรู้ และการรู้จักแก้ปัญหา รวมถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองได้

            สเตินเฮ้าส์ (Stenhouse, 1975) หน่ึงในผู้พัฒนาหลักสูตรเชิงกระบวนการ อธิบายว่า หัวใจ
ของหลักสูตรคือความร่วมมือของผู้สอนและผู้เรียนในการสร้างเนื้อหาและความหมายของการเรียนรู้ ซึ่งการ
พัฒนาหลักสูตรแนวนี้ใช้แนวคิดที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ที่ให้ความส�ำคัญต่อกระบวนการมากกว่าผลผลิต
หรอื อกี นยั หนง่ึ คอื หลกั สตู รคอื พนื้ ทที่ ผี่ ใู้ ชห้ ลกั สตู รหรอื ผสู้ อน และผเู้ รยี นสามารถถกเถยี ง แลกเปลยี่ นความ
คิด ความสนใจและความต้องการ โดยผ่านกระบวนการการสร้างความหมายซ่ึงเป็นรากฐานความคิดของ
หลักสูตรมาตรฐานท่ีเปิดโอกาสให้มีการยืดหยุ่นต้ังแต่กระบวนการในการวางแผนหลักสูตรจนถึงการเลือก
กิจกรรมการเรียนการสอน (Sowell, 2005)

            ดาวนน์ แี่ ละเคลล่ี (Downey and Kelly, 1989, p.21) กลา่ วเพม่ิ เตมิ วา่ ถา้ การพฒั นาหลกั สตู ร
เชงิ กระบวนการ คือการรว่ มมือของผสู้ อน และผูเ้ รียน การสรา้ งบรรยากาศในห้องเรียนทีม่ คี วามยืดหยุน่ เปดิ
กว้างความคิดเห็นและการร่วมมือกัน เป็นสิ่งที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง

            สเตินเฮ้าส์ (Stenhouse, 1975) ชี้แจงว่า โครงสร้างรายวิชาหรือแผนการจัดการเรียนรู้ใน
หลักสูตรเชิงกระบวนการยังคงมีอยู่แต่ในรูปแบบท่ีแตกต่างออกไปคือหลักสูตรกระบวนการจะประกอบด้วย
แนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้ซ่ึงตรงกันข้ามกับโครงสร้างรายวิชาแบบเก่าท่ีประกอบด้วยเนื้อหา ดังนั้น
หลักสูตรกลายเป็นข้อบ่งชี้เก่ียวกับข้อปฏิบัติในการสอน ไม่ใช่เน้ือหาที่ต้องท�ำการสอน (Brady, 1992) และ
โซเวลล์ (Sowell, 2005) ได้เสริมว่า หลักสูตรเชิงกระบวนการน้ีเองจะน�ำมาซึ่งการเชื่อมโยงระหว่างรายวิชา

            ตามแนวคดิ ของหลกั สตู รทใี่ หค้ วามสำ� คญั ตอ่ กระบวนการทง้ั กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รและ
กระบวนการเรียนรู้ในชั้นเรียน ที่เน้นการสร้างความหมายและการถกเถียงระหว่างผู้ใช้หลักสูตร และผู้เรียน
เพื่อให้ได้มาซ่ึงกระบวนการการสร้างองค์ความรู้ได้น้ันส่งผลให้หลักสูตรภาษาต่างประเทศที่ในอดีตเปล่ียน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37