Page 33 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 33

การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีอิงมาตรฐานการเรียนรู้ 1-23

รปู แบบจากหลกั สตู รทเี่ นน้ การออกแบบโครงสรา้ งรายวชิ าทป่ี ระกอบดว้ ยรายการไวยากรณแ์ ละเนอ้ื หาเกย่ี วกบั
ภาษา ระบุเทคนิควิธีการสอนและวิธีการการประเมินผลเพ่ือได้มาซึ่งความเป็นเลิศในการท่องจ�ำเนื้อหาและ
ไวยากรณ์ มาเป็นการออกแบบหลักสูตรที่เน้นวิธีและเทคนิคการสอนท่ีท�ำให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้
และสามารถน�ำกระบวนการเรียนรู้น้ันไปพัฒนาการเรียนรู้ภาษาด้วยตนเองต่อไป (Widdowson, 1984) โดย
สามารถสรุปจุดมุ่งหมายหลักของการเรียนการสอนภาษาภายใต้แนวคิดของหลักสูตรเชิงกระบวนการ คือ

                1) 	เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกบริบท
                2)	 ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับข้อมูล สร้างองค์ความรู้
                3) 	ผู้เรียนจะได้เรียนภาษาโดยทางอ้อม
                4) 	ผู้สอนไม่ใช้ผู้ท่ีก�ำหนดขอบข่าย (Scope) และล�ำดับการเรียนรู้ (Sequence) แต่
เป็นผู้เรียนเป็นผู้ก�ำหนดตามความสนใจ ภูมิหลังและบริบทของตน
            หลักสูตรเชิงกระบวนการและการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้จึงเป็นหลัก
แนวคิดที่ส�ำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรอิงมาตรฐานท่ีเป็นหลักสูตรท่ีให้ความส�ำคัญ
กระบวนการเช่นกัน
            ข.	 แนวการสรา้ งนกั วพิ ากษท์ รี่ จู้ กั คดิ วเิ คราะห์ (Critical thinker) สาระส�ำคัญของหลักสูตรอิง
มาตรฐานคอื การรักษาความเลือ่ มลา้ํ ในสังคมพัฒนาสังคมท่ีตกอยู่ภายใต้การครอบงำ� ของผรู้ ู้และผ้เู ชี่ยวชาญ
ทำ� ใหจ้ ำ� กดั สง่ิ ทผ่ี เู้ รยี นควรรู้ สงั คมเกดิ ความเสอื่ มถอยทางวฒั นธรรมและขาดการรจู้ กั การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม
อย่างสันติสุข การศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญเพียงอย่างเดียวไม่สามารถผลักดันให้เกิดการพัฒนาประเทศ
อยางยั่งยืนได้ (Kulsiri, 2008)
            นักการศึกษา/นักวิชาการด้านหลักสูตร เช่น อีลเลียดท์ อายสเนอร์ (Elliot Eisner) เฮนรี่
จีลุกซ์ (Henry Giroux) และไมเคิล แอปเปิ้ล (Michael Apple) เหล่านี้จัดเป็นนักสังคมปฏิรูปนิยม (Social
Reconstructionist ) ที่มองว่า หลักสูตรระดับสถานศึกษาคือหนทางท่ีจะท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง
สังคมไปในทางที่ดีขึ้น โดยมีแนวคิดแบบกระบวนทัศน์ทางการศึกษาเชิงวิพากษ์และหลังสมัยใหม่นิยม
(Critical and Postmodern Paradigm) โดยให้ความส�ำคัญกับอิสรภาพของปัจเจกบุคคลในด้านการศึกษา
ในสังคมประชาธิปไตย โดยให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาที่เอ้ือประโยชน์ให้กับผู้เรียน ไม่ใช่กลุ่ม
ชนใดกลุ่มชนหน่ึง (Gutek, 2004; Marsh, 2004)
            เปาโล แฟร์ (Paulo Freire) นักการศึกษาชาวบราซิล ผู้น�ำด้านทฤษฎีเชิงวิพากษ์ (Critical
theory) ไม่เห็นด้วยอย่างย่ิงกับการศึกษาแบบเก่าท่ีเปลี่ยนประสบการณ์ทางการศึกษาให้เป็นแค่ขั้นตอน
เทคนิคท่ีไม่ซับซ้อนในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ นักทฤษฎีเชิงวิพากษ์มองว่าโลกใบนี้เต็มไปด้วย
ความละเอียดอ่อน ซับซ้อน ต้องใคร่ครวญและทําความเข้าใจกับความซับซ้อนน้ี หลักสูตรจึงมีวิวัฒนาการ
เฉกเชน่ เดยี วกบั สงิ่ มชี วี ติ ทไี่ มส่ ามารถวางแผนควบคมุ ไวล้ ว่ งหนา้ ได้ ซง่ึ ตา่ งกบั เครอื่ งจกั รกลทส่ี ามารถควบคมุ
ได้ด้วยกระบวนการที่มีระบบระเบียบแบบวิทยาศาสตร์ (ออมสิน จตุพร และอมรรัตน์ วัฒนาธร, 2557)
            แนวคิดเช่นน้ีท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจากการเรียนภาษา
ท่ีเน้นการใช้ภาษาท่ีถูกต้อง เป็นการเรียนภาษาเพื่อให้ได้ใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือท่ีจะสร้างความเปลี่ยนแปลงใน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38