Page 20 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 20

15-10 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

       5) 	การสอนแบบชักชวน (Desuggestopedia) เป็นการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้พลังความคิด
(mental powers) ในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผู้สอนพยายามขจัดอุปสรรคในการเรียนรู้ เช่น ความกลัว
ความกังวล การขาดแรงจูงใจ เจตคติในแง่ลบ ด้วยการสร้างบรรยากาศในการเรียนให้รู้สึกสบายและผ่อน
คลาย เช่น จัดห้องเรียนให้น่าเรียน ติดโปสเตอร์เกี่ยวกับภาษาที่น่าสนใจ เปิดเพลงเบา ๆ ในขณะที่เรียน ซึ่ง
ผู้สอนอาจจะใช้ภาษาท่ีหน่ึงในการเรียนการสอนด้วยเพ่ือให้ผู้เรียนรู้สึกไม่กังวลว่าจะไม่เข้าใจภาษาท่ีเรียน

       6) 	การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (Community Language Learning) มีจุดประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสารโดยการเรียนรู้ร่วมกันในบรรยากาศของการร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและ
กัน (nondefensive learning) ผู้เรียนจะไม่เกิดความรู้สึกกลัวในการใช้ภาษาเพ่ือสื่อสารความคิดของตน
ซึ่งในการสอนลักษณะนี้ ผู้สอนจะเป็นเหมือนผู้แนะน�ำหรือให้ค�ำปรึกษาทางด้านภาษา วิธีการท่ีใช้มักประกอบ
ด้วยการแปล การถอดความ และการบันทึกเสียง

       7) 	การสอนแบบตอบสนองด้วยทา่ ทาง (Total Physical Response) ใช้วิธีการสอนท่ีคล้ายคลึงกับ
การเรยี นภาษาทห่ี นงึ่ ของเดก็ โดยมจี ดุ ประสงคใ์ นการลดความเครยี ดของผเู้ รยี นภาษา ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความ
สนุกสนานในการใช้ภาษา ด้วยการเรียนรู้จากท่าทาง โดยผู้เรียนสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างท่าทางกับ
ภาษาท่ีน�ำเสนอได้

       8) 	การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language Teaching) มีจุดประสงค์หลักใน
การท�ำให้ผู้เรียนสามารถส่ือสารด้วยภาษาท่ีเรียนได้อย่างถูกต้อง (accuracy) คล่องแคล่ว (fluency) และ
เหมาะสม (appropriateness) โดยผู้สอนน�ำเสนอกิจกรรมที่ท�ำให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาเพ่ือสื่อสารอย่างมีความ
หมาย (meaningful) และอย่างมีจุดประสงค์ (purposeful) เหมือนในสถานการณ์จริง ซ่ึง มอร์โลว
(Morrow, 1981) กล่าวว่ากิจกรรมที่ท�ำให้เกิดการสื่อสารได้อย่างแท้จริง (true communication) ต้องมี
ลักษณะ 3 ประการคือ 1) มีความต้องการที่จะได้ข้อมูลท่ีขาดหายไป (information gap) ซึ่งหมายความว่า
การส่ือสารนั้นมีจุดประสงค์เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีตนต้องการ 2) มีทางเลือก (choice) ซึ่งหมายความว่า ผู้เรียน
สามารถเลือกส่ือสารส่ิงที่อยากส่ือสารและเลือกวิธีการในการสื่อสารได้เอง โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้รูปแบบภาษา
ตามท่ีผู้สอนต้องการเท่าน้ัน และ 3) มีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) ซ่ึงหมายความว่า คู่สนทนาสามารถ
ตระหนักได้ว่าภาษาท่ีตนใช้ถูกต้องเหมาะสมและตรงจุดประสงค์หรือไม่โดยอาศัยข้อมูลย้อนกลับของ
คู่สนทนา เช่น การถามตอบเป็นเร่ืองเดียวกันหรือไม่

       9) 	การสอนภาษาโดยองิ เนอ้ื หา (Content-based Instruction) มีเป้าหมายให้ผู้เรียนเรียนรู้ท้ังภาษา
และเน้ือหาไปพร้อมกัน ซ่ึงเน้ือหาอาจจะเป็นเรื่องท่ัว ๆ ไปที่อยู่ในความสนใจของผู้เรียนหรือเป็นเนื้อหาใน
รายวิชาก็ได้ โดยผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาที่ใช้ภาษาที่เรียน ด้วยการใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น ใช้สื่อทัศนะ
(visuals) ของจรงิ (realia) หรอื ยกตวั อยา่ งประกอบ ทง้ั นี้ ผเู้ รยี นตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรอู้ ยา่ งมากเพราะ
ต้องใช้ภาษาในการหาข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

       10) 	การสอนภาษาโดยเน้นช้ินงาน (Task-based Language Teaching) เป็นการเรียนภาษาผ่าน
การทำ� ชน้ิ งาน ซง่ึ ชนิ้ งานนน้ั ตอ้ งเกย่ี วขอ้ งและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี น เชน่ การเขยี นตารางเรยี นประจำ� สปั ดาห์
โดยในขั้นตอนแรก ผู้สอนจะน�ำเสนอภาษาที่เกี่ยวข้องกับการท�ำชิ้นงาน เช่น การถามตอบเก่ียวกับวัน เวลา
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25