Page 24 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 24
15-14 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
รองรับการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีส่ือสารเคล่ือนท่ี (Mobile Technologies) รวมทั้งเพื่อ
เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองและตดิ ตอ่ ส่อื สารกับผู้เรยี นหรือกลุ่มสนทนาในอนิ เทอรเ์ นต็ โดยทั้งนี้ ยูเนสโก (UNESCO)
ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของเทคโนโลยีส่ือสารเคล่ือนที่ว่าหมายถึง อุปกรณ์เคลื่อนท่ีที่ใช้ระบบดิจิตัล พกพาได้
เป็นสมบัติส่วนตน สามารถส่ือสาร เช่ือมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต และปฏิบัติการร่วมกับส่ือมัลติมีเดียได้
เช่น แท็บเล็ต (tablet) เคร่ืองอ่านเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-reader) เครื่องเสียงแบบพกพา (portable
audio-player) เป็นต้น (ส�ำนักนโยบายความร่วมมือกับต่างประเทศ, 2556: 24)
5. ความสามารถในการสรา้ งองคค์ วามรหู้ รอื นวตั กรรมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผู้สอนต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ มากมายท่ีส่งผลให้การเรียน
การสอนไร้ประสิทธิภาพหรือผู้เรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ เช่น ผู้เรียนขาดเจตคติท่ี
ดหี รอื ขาดแรงจงู ใจในการเรยี นภาษาองั กฤษ โรงเรยี นขาดแคลนสอื่ และอปุ กรณก์ ารสอนภาษาองั กฤษ หนงั สอื
เรียนหรือสื่อการสอนภาษาอังกฤษไม่เหมาะกับผู้เรียน จ�ำนวนผู้เรียนในช้ันเรียนมากเกินไป ผู้เรียนมีความ
สามารถต่างกันมาก เป็นต้น เมื่อประสบปัญหาดังกล่าว ผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ต้องมีความกระตือรือร้นในการคิดหาวิธีแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งอาศัยคุณลักษณะอ่ืน ๆ ตามท่ีกล่าวมา
ข้างต้น เช่น ความรู้ความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ ความรู้ความเข้าใจเรื่องวิธีการสอนและการจัดการ
เรียนการสอน ความสามารถในการวัดและประเมินผล และความรู้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผู้น�ำทาง
วิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจะสามารถท�ำการวิจัยเพ่ือหาวิธีการหรือสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ไข
ปัญหาที่เกิดข้ึนได้ เช่น หาสาเหตุท่ีท�ำให้ผู้เรียนขาดแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษและหาวิธีสอนท่ีกระตุ้น
ความสนใจของผู้เรียน สร้างส่ือการเรียนที่น่าสนใจและเหมาะสมกับผู้เรียน หรือสร้างส่ือการสอนที่สามารถ
ประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ท่ีมีในสถาบันการศึกษาของตนได้ ซ่ึงผลของงานวิจัยหรือความส�ำเร็จของนวัตกรรม
การศึกษานอกจากจะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในช้ันเรียนและโรงเรียนของตนได้แล้ว
ยังสามารถเผยแพร่งานวิจัยและนวัตกรรมของตนเพ่ือเป็นประโยชน์แก่วงการศึกษาภาษาอังกฤษท่ัวไปด้วย
จากลักษณะทั้ง 5 ประการข้างต้น แสดงให้เห็นว่าผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ผู้เรียน และผู้เกี่ยวข้องในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ดังนั้น ความเป็น
ผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงมีความส�ำคัญต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็น
อย่างมาก
หลงั จากศกึ ษาเนื้อหาสาระเร่ืองท่ี 15.1.1 แล้ว โปรดปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 15.1.1
ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 15 ตอนที่ 15.1 เรอื่ งที่ 15.1.1