Page 22 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 22

2-12

เร่ืองที่ 2.1.4	 การประยุกต์ผลงานวจิ ัยเร่อื งทฤษฎีเชงิ สงั คมและ
	 วัฒนธรรม (Socio-cultural theories) ในการเรยี น
	 การสอนไวยากรณ์

สาระสงั เขป

       ทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรมเสนอว่าการเรียนรู้และการพัฒนาทุกรูปแบบจะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มี
ส่วนร่วมในกิจกรรมและบริบททางสังคม ซึ่งเป็นที่มาของแนวคิดในการเรียนรู้ภาษาที่มองว่า ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ภาษาได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในบริบทโดยมีภาษาเป็นตัวกลาง (mediation) เป็น
เครอื่ งมอื (tool) ทเี่ ชอื่ มประสานระหวา่ งผเู้ รยี นและบคุ คลอนื่ ๆ ในบรบิ ทใดบรบิ ทหนงึ่ ดงั นนั้ ประเดน็ ส�ำ คญั ใน
การจัดการเรียนการสอนภาษาที่สองตามแนวทฤษฎีนี้จึงอยู่ที่รูปแบบการมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) เพราะ
การเรียนรู้ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์นั้นผู้เรียนจะมีโอกาสได้รับข้อมูลภาษา มีโอกาสได้สื่อสารความหมาย
ผ่านไวยากรณ์ที่เรียนและมีโอกาสได้ทดสอบและแก้ไขความผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษา

     (โปรดอา่ นเนื้อหาสาระโดยละเอียดในประมวลสาระชดุ วชิ าหนว่ ยที่ 2 ตอนท่ี 2.1 เร่อื งที่ 2.1.4)
  กจิ กรรม 2.1.4

         ให้นักศึกษาอธิบายกลไกการเรียนรู้ภาษาโดยการมีปฏิสัมพันธ์ในบริบทว่ามีลักษณะอย่างไร

บันทึกคำ�ตอบกจิ กรรม 2.1.4

         (โปรดตรวจคำ�ตอบจากแนวตอบในแนวการศกึ ษาหน่วยที่ 2 ตอนท่ี 2.1 เรอ่ื งที่ 2.1.4)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27