Page 28 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 28

2-18

เรอ่ื งที่ 2.3.1	 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวัจนปฏบิ ตั ิศาสตรก์ ับการเรียน
	 การสอนภาษาองั กฤษ

สาระสังเขป

       วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics) หมายถึง “การศึกษาการใช้ภาษาในบริบททางสังคมโดยเน้นที่
เจตนาของผู้ใช้ภาษาเป็นสำ�คัญ” ความหมายของถ้อยคำ� (utterance) จะแตกต่างไปตามเจตนาของผู้พูด
และอาจเป็นความหมายที่เพิ่มขึ้นจากความหมายของคำ�  (lexical meaning) และความหมายของประโยค
(sentence meaning) วัจนปฏิบัติศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาษาศาสตร์วัจนปฏิบัติ (prag-
malinguistics) และวัจนปฏิบัติศาสตร์สังคม (sociopragmatics) ทั้งนี้ภาษาศาสตร์วัจนปฏิบัติเน้นที่ความ
เหมาะสมของรูปแบบภาษาตามเจตนาผู้สื่อสาร และวัจนปฏิบัติศาสตร์สังคมเน้นความเหมาะสมของรูปแบบ
ภาษาตามบริบทการใช้ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าวัจนปฏิบัติศาสตร์มีความเกี่ยวพันอย่างยิ่งกับการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ

     (โปรดอ่านเนอื้ หาสาระโดยละเอียดในประมวลสาระชดุ วชิ าหน่วยท่ี 2 ตอนท่ี 2.3 เรอ่ื งท่ี 2.3.1)
  กจิ กรรม 2.3.1

         ใหน้ กั ศกึ ษาอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวจั นปฏบิ ตั ศิ าสตรก์ บั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ
  มาพอสังเขป

บนั ทึกคำ�ตอบกจิ กรรม 2.3.1	

         (โปรดตรวจคำ�ตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยท่ี 2 ตอนท่ี 2.3 เรอ่ื งท่ี 2.3.1)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33