Page 33 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 33

2-23

แนวตอบกิจกรรม 2.2.2
       เนื่องจากการสอนภาษาที่เน้นการสื่อสารเน้นเรื่องของความสำ�คัญในการให้โอกาสแก่ผู้เรียนในการ

ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างไวยากรณ์ การใช้ภาษาในบริบทและความหมายที่ผู้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร
แนวคิดและการปฏิบัติในที่นี้จะเป็นส่วนที่เกิดจากผลการวิจัยในเรื่องดังกล่าว ซึ่งมีประเด็นหลัก ๆ ดังคือ
1) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของ
การใชภ้ าษาเพือ่ การสือ่ สาร ซึง่ จะตอ้ งไมล่ ะเลยประเดน็ เรือ่ งความถกู ตอ้ งในรปู แบบภาษาตามแตล่ ะบรบิ ทดว้ ย
2) การจัดเตรียมตำ�รา หนังสือและเอกสารการสอนโดยทั่ว ๆ ไปนั้น ผู้สอนต้องตระหนักถึงความจำ�เป็นใน
การทีจ่ ะใหเ้ อกสารเหลา่ นีม้ คี วามถกู ตอ้ งทัง้ ในดา้ นไวยากรณแ์ ละความหมายรวมตลอดจนถงึ การใชไ้ วยากรณ์
และความหมายนั้น ๆ ได้อย่างเหมาะสมในแต่ละบริบท 3) การทดสอบภาษาผู้สอนต้องตระหนักว่าตัวอย่าง
ภาษาที่จะนำ�ไปทดสอบนั้นมีความสมบูรณ์ในเชิงไวยากรณ์และความหมายเพื่อการสื่อสาร 4) การแก้ไข
ข้อผิดพลาดทางภาษาที่ปรากฏต้องแก้ไขโดยคำ�นึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาษาและหน้าที่ในการใช้
เพื่อสื่อความหมายตามแต่ละบริบทด้วย

แนวตอบกจิ กรรม 2.2.3
       แนวคิดและหลักปฏิบัติในการสอนภาษาอังกฤษที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยควรเป็น

การเรียนการสอนที่มีลักษณะที่ยืดหยุ่น ทั้งในเรื่องของวิธีการสอน กิจกรรมในชั้นเรียน เอกสารประกอบ
การเรียน การทดสอบภาษา สิ่งที่สำ�คัญที่สุดก็คือการจัดการชั้นเรียนจะต้องมีลักษณะที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
พัฒนาตามศักยภาพของตน และควรอยู่ในขอบเขตที่ผู้สอนสามารถปฏิบัติได้ เช่น ในชั้นเรียนขนาดใหญ่ที่มี
นักเรียน 50 คน การจัดกิจกรรมที่จะให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะทางภาษาเป็นรายบุคคลอาจไม่เหมาะสม ผู้สอน
อาจต้องเปลี่ยนเป็นการแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยและให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมีหน้าที่ชัดเจนในการเรียน
การสอน เชน่ การเวยี นหนา้ ทีก่ นั ท�ำ ในกจิ กรรมกลุม่ การใหผ้ ูเ้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษผ์ ลงานการเขยี น
ของเพื่อนในกลุ่ม เป็นต้น อย่างไรก็ตามผู้สอนต้องอย่าคาดหวังว่าการทำ�กิจกรรมกลุ่มเพียงครั้งสองครั้งแล้ว
ผู้เรียนจะต้องพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษอย่างได้ผลทันตา ถึงแม้ว่าผู้เรียนอาจจะไม่ได้มีสัมฤทธิผลทางด้าน
ภาษาทันทีในการทำ�กิจกรรมเป็นคู่หรือเป็นกลุ่ม แต่สิ่งที่ได้ก็คือผู้เรียนอาจจะมีทัศนคติต่อภาษาอังกฤษใน
เชิงบวกมากขึ้น ทำ�ให้ผู้เรียนมีความรู้สึกว่าภาษาอังกฤษเป็นเรื่องเกี่ยวพันกับตัวเขามากขึ้นก็เป็นได้

ตอนท่ี 2.3. วจั นปฏิบัติศาสตรก์ บั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แนวตอบกจิ กรรม 2.3.1
       วัจนปฏิบัติศาสตร์เป็นการศึกษาการใช้ภาษาในบริบททางสังคมโดยเน้นที่เจตนาของผู้ใช้ภาษาเป็น

สำ�คัญ ความหมายของถ้อยคำ�จะแตกต่างไปตามเจตนาของผู้พูด และอาจเป็นความหมายที่เพิ่มขึ้นจากความ
หมายของค�ำ  วัจนปฏิบตั ศิ าสตร์สงั คมเนน้ ความเหมาะสมของรปู แบบภาษาตามบริบทการใช้ ดังนัน้ การเรยี น
การสอนภาษาอังกฤษที่ผูกอยู่กับกรอบแนวคิดนี้จึงต้องเน้นการสอนไวยากรณ์ คำ�ศัพท์และองค์ประกอบ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38