Page 26 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 26

8-16 การจัดการงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

       ในก​ ารจ​ ัด​สภาพแ​ วดล้อมใ​น​การ​สื่อสาร ผู้บ​ ริหาร​และ​บุคลากร หรือ​บุคลากรก​ ับ​ผู้ใ​ช้บ​ ริการ ควรอ​ ยู​่
ในบ​ รรยากาศจ​ ิตภาพท​ ี่ป​ ลอดโ​ปร่ง มีค​ วามเ​ห็นอ​ กเ​ห็นใจไ​ม่ข​ ่มขู่ โอ้อวด หรือด​ ูห​ มิ่นด​ ูแคลนก​ ัน การจ​ ัดส​ ภาพ​
แวดล้อมท​ างก​ ายภาพท​ ีเ่​อื้อต​ ่อก​ ารส​ ่งส​ ารไ​ดช้​ ัดเจน เช่น มแี​ สงส​ ว่างเ​พียงพ​ อไ​ม่มเี​สียงอ​ ึกทึก อากาศไ​มร่​ ้อนไ​ม​่
หนาว​เกินไ​ป เป็นต้น และจ​ ัด​สภาพ​แวดล้อม​ทางส​ ังคมท​ ี่​น่าร​ ื่นรมย์

2. 	พฤติกรรมก​ าร​สง่ ส​ ารแ​ ละร​ บั ส​ าร

       พฤติกรรม​การ​ส่ง​สาร​และ​รับ​สาร หมาย​ถึง พฤติกรรม​การ​บริหาร พฤติกรรม​การ​ทำ�งาน หรือ​
พฤติกรรมผ​ ู้บ​ ริหารแ​ ละ​พฤติกรรมบ​ ุคลากร

       พฤติกรรม​การส​ ่ง​สาร​และร​ ับ​สาร​มีป​ ระสิทธิภาพ​การส​ ื่อสาร​ขึ้นอ​ ยู่​กับ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ผู้บ​ ริหาร​
กับบ​ ุคลากร และค​ วามส​ ามารถ​ในก​ ารถ​ ่ายทอด​และร​ ับส​ าร ความส​ ัมพันธ์ท​ ี่ด​ ีร​ ะหว่างผ​ ู้บ​ ริหารก​ ับบ​ ุคลากรเ​กิด​
ขึ้น เมื่อ​ทั้งส​ อง​มี​ความ​เห็น​อกเ​ห็นใจก​ ัน

       นอกจาก​นี้ ผู้​บริหาร​ควร​มี​ความ​เมตตา​กรุณา​ต่อ​บุคลากร​ไม่มี​ความ​โกรธ​เคือง อาฆาต​แค้น ใน​
ขณะ​เดียวกัน​บุคลากร​หรือ​ผู้​บังคับ​บัญชา​ต้อง​มี​ความ​เคารพ​นับถือ​ผู้​บริหาร​หรือ​หัวหน้า ไม่​ดู​หมิ่น​ดูแคลน
ผู้​บริหารค​ วรม​ ีพ​ ฤติกรรมใ​น​การ​สื่อสารใ​น​การบ​ ริหารง​ าน ดังนี้ (1) สื่อสารก​ ับบ​ ุคลากรด​ ้วย​อัธยาศัยไ​มตรีท​ ี่​
ดี ยกย่อง ชมเชย และ​ให้​เกียรติ​ซึ่ง​กัน​และ​กัน (2) เป็น​ผู้ฟ​ ัง​ที่ด​ ี พยายาม​ค้นหา​ความ​ดี​ของ​ผู้ท​ ี่ทำ�การ​สื่อสาร​
ได้ (3) พยายาม​ใช้ก​ าร​สื่อสารส​ อง​ทาง (4) ประเมินก​ าร​สื่อสาร​แต่ละค​ รั้ง​ว่าส​ ัมฤ​ทธิผ​ ล​มาก​น้อย​แค่ไ​หน เพื่อ​
นำ�​มา​ปรับปรุง​การส​ ื่อสาร​ครั้ง​ต่อ​ไป (5) คำ�​พูด​การแ​ สดงออก​ทุก​อิริยาบถ​เป็นการส​ ื่อสาร​ทั้ง​สิ้น​ต้องใ​ห้​ความ​
สำ�คัญ ระมัดระวัง ควร​มีก​ าร​วางแผนแ​ ละเ​ตรียมก​ าร​ทุก​ครั้ง​ที่​มี​การ​สื่อสาร และ (6) พัฒนา​ยุทธ​วิธีใ​หม่ๆ ใน​
การส​ ื่อสาร​ตลอด​เวลา

       ความส​ ามารถใ​นก​ ารถ​ ่ายทอดส​ าร ผู้บ​ ริหารค​ วรพ​ ูดช​ ัดเจนไ​ม่ว​ กว​ นก​ ็จ​ ะถ​ ่ายทอดส​ าร ได้ด​ ีก​ ว่าพ​ ูดไ​ม​่
ชัดเจน หรือพ​ ูด​วก​ไปเ​วียนม​ า

       ความ​สามารถ​ใน​การ​รับ​สาร​ของ​บุคลากร​หรือ​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา เกิด​จาก​ปัจจัย​หลาย​อย่าง เช่น
พื้นค​ วามร​ ู้ ประสบการณ์เ​ดิม ทัศนคติ ภาษาแ​ ละค​ วามส​ ามารถ​ใน​การ​ฟัง และค​ วาม​สามารถใ​น​การอ​ ่าน

3. 	ระดับป​ ฏสิ ัมพันธร์​ ะหวา่ งผ​ ​ู้ส่ง​สาร​และ​ผรู้ ับ​สาร

       ระดับป​ ฏิสัมพันธ์ร​ ะหว่างผ​ ู้ส​ ่งส​ ารแ​ ละผ​ ู้รับส​ าร ขึ้นอ​ ยู่​กับค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารต​ อบโต้ก​ ัน และไ​ด้ร​ ับ​
ผล​ย้อน​กลับ​หรือค​ ำ�​ติช​ มร​ ะหว่างผ​ ู้​บริหาร​กับ​บุคลากรห​ รือผ​ ู้ใ​ต้​บังคับ​บัญชา

       การส​ ื่อสารใ​นอ​ งค์กรเ​ทคโนโลยีแ​ ละส​ ื่อสารก​ ารศ​ ึกษาจ​ ะม​ ีป​ ระสิทธิภาพ เมื่อผ​ ู้บ​ ริหารแ​ ละบ​ ุคลากรม​ ​ี
โอกาสต​ อบโต้​กันเ​มื่อม​ ีค​ วามเ​ห็นแ​ ย้ง​กัน เสริมแ​ ละ​สนับสนุนเ​มื่อ​มีค​ วาม​เห็น​ตรง​กัน

       นอกจากน​ ี้ เมื่อผ​ ูบ้​ ริหารส​ ื่อสารอ​ ะไรไ​ป หากผ​ ูใ้​ตบ้​ ังคับบ​ ัญชาห​ รือบ​ ุคลากรไ​มเ่​ข้าใจก​ ซ็​ ักถ​ ามผ​ ูบ้​ ริหาร
ผู้​บริหาร​ควร​จะ​ตอบ​คำ�ถาม​จน​กระจ่าง​เป็นการ​เปิด​โอกาส​ให้​ผู้​บริหาร​และ​บุคลากร หรือ​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​รับ​
ทราบผ​ ลย​ ้อน​กลับ​จากก​ ัน ทำ�ให้เ​กิด​การส​ ื่อสารส​ องท​ างข​ ึ้น
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31