Page 21 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 21
การส ื่อสาร การประสานงาน และการควบคุมงานเทคโนโลยีแ ละสื่อสารการศ ึกษา 8-11
2.4 แบบจ �ำ ลองร ะบบข องเบอรโ์ ล เปน็ แ บบจ �ำ ลองร ะบบท เี่ ดวดิ เค เบอรโ์ ล (David K., Berlo) คดิ ข ึน้
เมื่อ พ.ศ. 2503 ประกอบด้วย แหล่งข องส าร (Source of Message) การใส่ร หัสสาร (Message Encoding)
สัญญาน (Signal) ช่องทาง (Channel) การร ับแ ละถ อดรหัสสาร (Message Receiving and Decoding)
จุดหมายป ลายท าง (Destination of Message) และอุปสรรค (Barrin/Noise)
2.5 แบบจ �ำ ลองก ารส อื่ สารท ัว่ ไป เป็นแ บบจ ำ�ลองท ี่ป รับม าจ ากน ักส ื่อสารห ลายค นแ ล้วม าจ ำ�ลองให้
ง่ายข ึ้น เป็นร ูปแ บบท ี่อ ิงข องเบอรโ์ล และม ักจ ะอ ้างว ่าเป็นข องเบอรโ์ล เป็นแ บบจ ำ�ลองท ี่ใช้ก ันม าป ระกอบด ้วย
ผู้ส่งสาร สาร ช่องท าง/สื่อ และผ ู้รับส าร หรือ SMCR
โดยสรุป องค์ประกอบของการสื่อสารในงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ประกอบด้วย
ผู้ส ่งสาร สาร ช่องท างห รือส ื่อ และผู้รับสาร แบบจ ำ�ลองกระบวนการส ื่อสาร ได้แก่ แบบเข็มฉ ีดยา แบบ
ลาสเวล แบบเซน นอน แบบบ าร์น ลันด ์ แบบระบบของเบอร์โล และแ บบการส ื่อสารทั่วไป
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 8.1.2 แล้ว โปรดป ฏิบัติก ิจกรรม 8.1.2
ในแ นวการศ ึกษาห น่วยท ี่ 8 ตอนที่ 8.1 เรื่องที่ 8.1.2
เรอ่ื งท ี่ 8.1.3 รูปแ บบและป ระเภทของการส อื่ สารในงานเทคโนโลยี
และสอ่ื สารก ารศ กึ ษา
ในงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามีการติดต่อสื่อสารหลายรูปแบบและหลายประเภทจะใช้
รูปแ บบและป ระเภทใดข ึ้นอ ยู่ก ับวัตถุประสงค์ของก ารส ื่อสารน ั้น
1. รูปแบบของการส อื่ สารในง านเทคโนโลยีและส ่อื สารก ารศกึ ษา
รูปแ บบของก ารส ื่อสารในงานเทคโนโลยีแ ละสื่อสารก ารศ ึกษา มี 3 รูปแบบ ได้แก่ การจำ�แนกตาม
ภาษาท ี่ใช้ การจ ำ�แนกต ามความสามารถในก ารต อบโต้ก ัน และการจำ�แนกตามช่องทางการสื่อสาร
1.1 ตามภาษาที่ใช้ การสื่อสารจำ�แนกเป็น (1) การสื่อสารด้วยวจนภาษาหรือสื่อสารด้วยภาษาพูด
หรือเขียน (Verbal Communication) เป็นกร ะบ วนก ารแ ลกเปลี่ยนข ่าวสารก ันโดยใช้ล ายล ักษณ์อ ักษร หรือ
ใช้การพูดอ ย่างเป็นท างการหรือไม่เป็นทางการ และ (2) การส ื่อส าร ด้วยอว ัจน ภาษาหรือภ าษาท ่าทาง (Non-
verbal Communication) เป็นกร ะบ วนก ารส ื่อสารด ้วยภ าษาไมอ่ อกเสียง เป็นค ำ�พูดห รือถ ้อยคำ� เป็นภ าษาท ี่
แสดงออกทางก ิริยา อาการ วัตถุ กาลเทศะ อาจโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ รวมถึงภาษาส ัญญาน แ ละส ัญลักษณ์