Page 20 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 20

8-10 การจัดการงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

       1.4 	 ผู้รับ​สาร (Reciever) บุคลากร​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ผู้รับ​สาร ผู้รับ​สาร​อาจ​รับ​สาร​เป็น​ราย​บุคคล​หรือ​
เป็นกล​ ุ่มเ​ล็ก หรือ​เป็นก​ลุ่ม​ใหญ่

       การส​ ือ่ สารจ​ ะไ​มเ​่ กดิ ข​ ึน้ จ​ นกวา่ สารท​ ผี​่ สู​้ ง่ ส​ ารถ​ า่ ยทอดจ​ ะไ​ปถ​ งึ ผ​ ูร้ บั ส​ าร และผ​ ูร้ บั ส​ ารถ​ อดรหสั ตคี วาม
และร​ ับส​ าร​ที่ไ​ด้​ปริมาณแ​ ละค​ วามช​ ัดเจนม​ าก​พอที่​จะเ​ข้าใจ​ตามท​ ี่ผ​ ู้​ส่งส​ าร​ตั้ง​ไว้

       ผู้รับส​ ารจ​ ะร​ ับส​ ารไ​ดอ้​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพต​ ้องด​ ำ�เนินก​ ารด​ ังนี้ คือ (1) เตรียมพ​ ร้อมใ​นก​ ารร​ ับส​ าร คือ
เตรียมก​ าย เตรียมใ​จ และเ​ตรียมต​ วั ผูร​้ บั ส​ ารจ​ ากผ​ ูบ​้ งั คับบ​ ญั ชาห​ รือเ​พือ่ นร​ ว่ มง​ านห​ รือผ​ ูใ​้ ชบ้​ ริการ (2) ผูร้ บั ส​ าร​
ต้อง​ไม่​ยึดม​ ั่นใ​นค​ วามค​ ิด ความร​ ู้ ความ​เข้าใจ​เดิม หรือไ​ม่ต​ ่อ​ต้าน​ความ​คิดเ​ห็นห​ รือค​ วาม​รู้​ใหม่ๆ พร้อมท​ ี่​จะ​
รับค​ วามร​ ู้ใ​หม่แ​ ละน​ ำ�​ไปใ​คร่ครวญใ​ห้เ​ข้าใจล​ ึกซ​ ึ้ง (3) ต้องน​ ำ�​เนื้อหาม​ าตคี​ วามอ​ าจใ​ช้ค​ วามร​ ู้แ​ ละป​ ระสบการณ​์
เดิม​มา​ช่วย (4) ผู้รับส​ ารจ​ ำ�เป็น​ต้อง​ซักถ​ ามข​ ้อ​สงสัย​ไม่​ปล่อย​ข้อส​ งสัย​ล่วงเ​ลยไ​ป (5) ต้อง​ศึกษาค​ ้นคว้าเ​พิ่ม​
เติม​เพื่อ​เพิ่ม​ความ​รู้​ใน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร และ (6) ควร​ให้​ข้อมูล​ป้อน​กลับ​แก่​ผู้​ส่ง​สาร มิใช่​ว่า​ชม​เพียง​อย่าง​
เดียว ควร​มี​การว​ ิพากษ์ว​ ิจารณ์​ด้วยว​ ่าผ​ ู้รับส​ าร​ได้ร​ ับ​ความ​กระจ่างห​ รือ​สับสน​อย่างไร

2. 	แบบจ​ �ำ ลองก​ ารส​ ื่อสาร​ในง​ านเ​ทคโนโลยแี​ ละส​ ื่อสาร​การศ​ กึ ษา
          องค์​ประกอบ​ของ​กระบวนการ​สื่อสาร​ใน​งาน​เทคโนโลยี​และ​สื่อสาร​การ​ศึกษา​ครอบคลุม ผู้​ส่ง​หรือ​

แหล่ง​สาร สาร ช่อง​ทาง​หรือส​ ื่อ และผ​ ู้รับส​ าร องค์​ประกอบเ​หล่า​นี้ม​ ีค​ วาม​สัมพันธ์แ​ ตก​ต่าง​กัน​ไป​แล้ว แต่​แบบ​

จำ�ลอง​ของ​การ​สื่อสาร คือ แบบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสาร​แบบ​เข็ม​ฉีดยา แบบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสาร​แบบ​เซ​นนอน แบบ​

จำ�ลองก​ ารส​ ื่อสาร​แบบบ​ าร์น​ ล​ ันด​ ์ แบบ​จำ�ลอง​ของร​ ะบบ​เบอร์​โล และแ​ บบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสารท​ ั่วไป
          2.1 	 แบบ​จำ�ลองก​ าร​สอ่ื สาร​แบบ​เขม็ ​ฉดี ยา (Hypodernic Needle Model) เป็น​แบบจ​ ำ�ลอง​ที่​สะท้อน​
การ​สื่อสารท​ ี่​ผู้​ส่งส​ าร “ฉีด” ความค​ ิดเ​ห็น ข้อมูล ค่า​นิยม เข้าไปส​ ู่ค​ น เพียงแ​ ต่จ​ ะ “ฉีด” อะไร แค่ไ​หนจ​ ึงจ​ ะ​
สื่อสารไ​ ด้​สำ�เร็จ
          2.2 	 แบบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสาร​แบบ​เซ​นนอน (Shannon Model) โดย​เก​ลาด์ เซ​นนอน แห่ง​สถาบัน​
เทคโนโลยีแ​ ห่งเ​มส​ซา​ซูเ​ซต ประกอบด​ ้วย ข้อมูล การ​ลงร​ หัส เครื่องส​ ่ง​สัญญาณ ตัวส​ ัญญาณท​ ี่​ส่ง แหล่งท​ ี่​

เกิด​อุปสรรค​สัญญา​นที่​ได้​รับ และผ​ ู้รับถ​ อดรหัส
          2.3 	 แบบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสาร​แบบ​บาร์​น​ลัน​ด์ (Barnlund’s Models) ดีน​ซี​บาร์​น​ลัน​ด์ ได้​เสนอ​แบบ​
จำ�ลอง 2 แบบ คือ แบบจ​ ำ�ลอง​สื่อสาร​ภายในบ​ ุคคล และแ​ บบจ​ ำ�ลอง​สื่อสาร​ระหว่างบ​ ุคคล
          2.3.1 	แบบจ​ �ำ ลองก​ ารส​ อ่ื สารภ​ ายในบ​ คุ คล (Barnlund’s Interpersonal Model) เปน็ แ​ บบจ​ ำ�ลอง​
การ​สื่อสาร​กับ​ตนเอง​ประกอบ​ด้วย  บCุคpคu)ล​ทปี่ัจ​สจื่อัยส​ใานรต​​กันบ​ซ​ตึ่ง้นเ​ปแบ็นบ​ตัว(ช​Pี้น1ำ�)​หปรัจือจส​ัยิ่ง​​เนรอ้า​สก่ว​ตนนบ​ ุคซึ่งค​ตลัว(​ชPี้นriำ�v​หaรtือe​สcิ่งu​เรe้า/​
สาธารณะ (Public cue/stimuli =

stimuli = Cpr) ตัว​ชี้นำ�​หรือส​ ิ่งเ​ร้าท​ ี่เ​ป็นพ​ ฤติกรรมท​ ่าทาง (Non–Verbal behavior cues = Cbehrve) การ​

ใส่ร​ หัส (Encoding–E) และ​การถ​ อดรหัส (Encoding–D)
          2.3.2 	แบบ​จำ�ลอง​การ​สื่อสาร​ระหว่าง​บุคคล (Barnlund’s Interpersonal Model) เป็น​แบบ​
จำ�ลอง​ที่​บุคคล​สื่อสาร​ระหว่าง​กัน มี​องค์​ประกอบ​ส่วน​ใหญ่​เหมือน​กับ​การ​สื่อสาร​ภายใน​ตน​แต่​เพิ่ม​บุคคล​ที่​

สอง (P2)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25