Page 19 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 19

การ​สื่อสาร การ​ประสานง​ าน และก​ ารค​ วบคุมง​ านเ​ทคโนโลยี​และ​สื่อสาร​การ​ศึกษา 8-9

คอมพิวเตอร์​ช่วย​สอน เป็นต้น เป็น​ผู้​เริ่ม​ต้น​สื่อสาร ทำ�ให้​กระบวนการ​สื่อสาร​เกิด​ขึ้น จำ�นวน​ของ​ผู้​ส่ง​สาร​
แตกต​ ่างก​ ัน และส​ ่งส​ ารใ​นฐ​ านะเ​ป็นต​ ัวแทนข​ องห​ น่วยง​ าน หรือส​ ถาบันใ​ดส​ ถาบันห​ นึ่ง หรือส​ ่งส​ ารใ​นฐ​ านะเ​ป็น​
ตัว​ของต​ ัวเ​อง ลักษณะส​ ำ�คัญ​ของผ​ ู้​ส่งส​ าร​ที่ม​ ีผ​ ลใ​ห้การ​ดำ�เนิน​งานบ​ รรลุเ​ป้าห​ มาย คือ มี​วัตถุประสงค์​ในก​ าร​
สื่อสาร​ที่แ​ จ่มช​ ัด เป็น​ผู้​ที่​มี​ความร​ ู้​ความเ​ข้าใจเ​พียงพ​ อ​ในเ​นื้อหา​ของเ​รื่อง​ราว​ที่​ตน​จะต​ ้อง​สื่อสารก​ ับ​ผู้อ​ ื่น เป็น​
ผู้ม​ ี​ความ​พยายาม​ที่จ​ ะ​เข้าใจ​ความ​สามารถแ​ ละ​ความ​พร้อม​ใน​การร​ ับส​ ารข​ อง​ผู้​ที่​ตน​สื่อสาร​ด้วย และเ​ลือกใ​ช​้
วิธี​การใ​นก​ าร​สื่อสารใ​ห้​เหมาะส​ ม​กับเ​รื่อง​โอกาสและ​ผู้รับ​สาร

       1.2 	 สาร (Message) คือ เนื้อหา​และ​ประสบการณ์ท​ ี่ผ​ ู้ส​ ่งส​ ารต​ ้องการส​ ่ง​ไป​ยังผ​ ู้รับ​สาร ประเภทข​ อง​
เนื้อหา​หรือ​ประสบการณ์​ที่​ส่ง​ไป​ยัง​ผู้รับ​สาร มี 3 ประเภท คือ (1) เนื้อหา​สาระ​และ​ประสบการณ์​ด้าน​พุทธิ​
พิสัยจ​ ำ�แนก​เป็น 6 ระดับ คือ ความ​รู้ค​ วาม​จำ� ความเ​ข้าใจ การ​ประยุกต์ใ​ช้ การ​วิเคราะห์ การส​ ังเคราะห์ และ​
การป​ ระเมิน (2) เนื้อหาส​ าระแ​ ละป​ ระสบการณ์ด​ ้านจ​ ิต​พิสัย​ครอบคลุมเ​นื้อหาท​ ี่​เกี่ยวก​ ับ​ความร​ ู้สึกท​ างจ​ ิตใจ
ได้แก่ ความ​รู้สึก ความ​สนใจ ความ​สำ�​เนีย​ก ความ​ไว​ต่อ​สถานการณ์ การ​ยอมรับ ทัศนคติ ค่า​นิยม และ​
คุณธรรม และ (3) เนื้อหา​สาระแ​ ละป​ ระสบการณ์​ด้าน​ทักษะ​พิสัยค​ รอบคลุม ทักษะ​ทางร​ ่างกาย ทักษะท​ าง​สต​ิ
ปัญญา และท​ ักษะท​ างการจ​ ัดการ

       ลกั ษณะส​ �ำ คญั ข​ องส​ ารซ​ ึง่ ม​ ผ​ี ลต​ อ่ ก​ ารร​ บั ร​ ู้ คอื (1) ความเ​หมาะส​ มข​ องส​ าร คอื ท�ำ ใหผ​้ ูร้ บั ส​ ารเ​กดิ ค​ วาม​
เข้าใจไ​ด้ต​ รงต​ าม​ที่​ผู้ส​ ่ง​สาร​ต้องการส​ ่ง​สาร​ได้ (2) คุณภาพ​ของ​สาร คือ ความช​ ัดเจนถ​ ูกต​ ้อง​ของส​ าร (3) ความ​
แปร​เปลี่ยน​ของส​ าร คือ ความ​หลาก​หลาย​ของร​ ูป​แบบ​ในก​ ารเ​สนอ (4) ความเ​ข้มข​ องส​ าร คือ การเ​น้นจ​ ุดเ​ด่น​
ของส​ าร เช่น ความด​ ัง​ของเ​สียง และ (5) ความถี่​ของส​ าร คือ จำ�นวนค​ รั้ง​ใน​การส​ ่งข​ ่าวสารแ​ ต่ละเ​นื้อหา​สาระ

       1.3 	 ชอ่ งท​ างห​ รอื ส​ อื่ ในก​ ารส​ ือ่ สารช​ ่องท​ าง (Channel) และส​ ื่อ (Media) เปน็ เ​ครื่องม​ ือส​ �ำ คญั ส​ �ำ หรบั ​
ถ่ายทอด​สาระ หรือ​เนื้อหาส​ าระแ​ ละป​ ระสบการณ์​จาก​ผู้ส​ ่งไ​ป​ยังผ​ ู้รับ

            1.3.1 	ช่อง​ทางใน​การ​สื่อสาร​ของ​งาน​เทคโนโลยีแ​ ละ​ส่ือสาร​การ​ศึกษา ช่อง​ทาง​เป็น​โอกาส​ให้​
บุคลากรไ​ด้​สื่อสารก​ ับล​ ูกค้า หรือผ​ ู้​บริการไ​ด้​สะดวก ช่อง​ทางท​ ี่​ใช้ ได้แก่ จดหมาย บันทึกข​ ้อความ การ​พูด​
ทาง​โทรศัพท์ จดหมาย​อิเล็กทรอนิกส์ รายงาน​ที่​เป็น​ทางการ ประกาศ การ​ประชุม​แบบ​เผชิญ​หน้า​กัน และ​
การ​ประชุม​ทาง​ไกล​อาศัย​ระบบ​โทรศัพท์

            1.3.2 	สอื่ ท​ ใ​ี่ ชใ​้ นก​ ารส​ อ่ื สารข​ องง​ านเ​ทคโนโลยแ​ี ละส​ อื่ สารก​ ารศ​ กึ ษา จ�ำ แนกเ​ปน็ (1) สือ่ บ​ คุ คล
การ​ใช้​บุคลากร​เป็น​สื่อ​ใน​การนำ�​เนื้อหา​สาระ​มา​ถ่ายทอด เช่น หัวหน้า​ฝ่าย​หรือ​หัวหน้า​หน่วย​นำ�​นโยบาย​มา​
ถ่ายทอด​ให้​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา (2) สื่อ​วัสดุ​และ​อุปกรณ์ เป็น​สื่อ​ประเภท​วัสดุ​ที่​มี​การ​ผุ​พัง​สิ้น​เปลือง​ใช้​ใน​การ​
สื่อสาร เช่น กระดาษ รูปภาพ ของ​จริง ฯลฯ ประกอบ​การ​ส่ง​เนื้อหา​สาระ และ​สื่อ​ประเภท​อุปกรณ์ เป็น​สื่อ​
ประเภทท​ มี​่ ค​ี วามค​ งทนถ​ าวร เชน่ เครือ่ งฉ​ าย เครือ่ งเ​สยี ง เครือ่ งค​ อมพวิ เตอร์ ฯลฯ และ (3) สือ่ ว​ ธิ ก​ี าร เปน็ การ​
นำ�​กิจกรรมม​ าใ​ช้เ​ป็นส​ ื่อใ​นก​ ารถ​ ่ายทอดส​ าร แทนก​ ารถ​ ่ายทอดด​ ้วยค​ ำ�​พูด เช่น กิจกรรมก​ ลุ่ม ประสิทธิผลใ​น​
การ​สื่อสาร​ของ​ช่อง​ทาง​และ​สื่อ​แต่ละ​ประเภท​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน สิ่ง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​ประการ​หนึ่ง คือ ผู้​ส่ง
หมายถ​ ึง ผู้บ​ ริหารห​ รือบ​ ุคลากรต​ ้องเ​ลือกช​ ่องท​ างห​ รือส​ ื่อท​ ี่เ​หมาะส​ มในก​ ารถ​ ่ายทอดข​ ่าวสารห​ รือเ​นื้อหาส​ าระ​
ตาม​ที่ต​ ั้งใจ​ไว้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24