Page 29 - การบริหารกิจการสื่อสาร
P. 29

การบรหิ ารงานกจิ การโฆษณา 12-19

เร่ืองที่ 12.1.3
สถานการณ์แวดล้อมและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการโฆษณา

       สถานการณแ์ วดลอ้ มทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การโฆษณาทสี่ ำ� คญั คอื กฎหมาย ระเบยี บหรอื ขอ้ บงั คบั ในการ
โฆษณาตง้ั แตก่ ่อนการผลิต จนไปถงึ กระบวนการหลงั การผลติ ซึ่งธรุ กจิ สนิ คา้ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั เพราะ
ส่งผลโดยตรงต่อการทำ� โฆษณาของสินคา้ สำ� หรบั ในประเทศไทยนัน้ ระเบยี บขอ้ บังคบั การโฆษณา แบง่
เปน็ 2 แบบคอื หนว่ ยงานของรฐั ก�ำหนด นน่ั คอื การใชก้ ฎหมาย พระราชบญั ญตั ทิ อ่ี อกมา และขอ้ ระเบยี บ
ทที่ างหนว่ ยงานอนื่ ๆ เปน็ ผกู้ ำ� หนดเพอ่ื ควบคมุ ดแู ลสมาชกิ เชน่ สมาคมโฆษณาแหง่ ประเทศไทย เปน็ ตน้

1. 	 การบังคับใช้กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับการโฆษณาจากรัฐ

       ระเบยี บขอ้ บงั คบั การโฆษณาจากรฐั มหี ลายฉบบั ซงึ่ แตกตา่ งไปตามลกั ษณะและประเภทของสนิ คา้
เช่น กลุ่มอาหาร กลุ่มเคร่ืองส�ำอาง เป็นต้น ส�ำหรับโฆษณาทางโทรทัศน์ พระราชบัญญัติการประกอบ
กจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2551 มาตรา 23 กำ� หนดใหร้ ะยะเวลาโฆษณาโทรทศั นไ์ มเ่ กนิ
12 นาทีคร่งึ ต่อช่ัวโมง หรือเฉล่ยี 10 นาทตี ่อช่วั โมง

       นอกจากนี้ ยงั มรี ะเบยี บขอ้ บงั คบั อน่ื ๆ ซงึ่ แบง่ ตามประเภทของแตล่ ะสนิ คา้ โดยขอ้ มลู ของสมาคม
โฆษณาแห่งประเทศไทยได้รวบรวมไว้ ดังน้ี

       1.1 	แนวปฏิบัติการโฆษณาผลิตภัณฑ์ไล่หรือก�ำจัดแมลง แนวทางการโฆษณาผลติ ภณั ฑไ์ ลห่ รอื
ก�ำจดั แมลง ปรากฏตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ซง่ึ สามารถสรุปไดด้ ังนี้

            1)	ถ้าผลิตภัณฑ์มีส่วนประกอบของสารแต่งกลิ่นจากธรรมชาติหรือเคมี ท่ีให้กล่ินหอม
ใกลเ้ คยี งกบั ดอกไม้ พชื ผลไม้ ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตจากสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาแลว้ การใชภ้ าพ
เสียง หรือข้อความโฆษณา ไม่ควรเป็นลักษณะให้ผู้บริโภคสูดดม เพราะอาจเข้าใจผิดคิดว่าการสูดดม
มีความปลอดภัยได้ หรอื ท�ำให้เข้าใจผดิ คดิ ว่าสารแต่งกลิน่ เหลา่ น้ี มีคณุ สมบัติไลห่ รือกำ� จัดแมลงได้

            2) ในการโฆษณาไมค่ วรใชค้ �ำวา่ “หอม” เพราะอาจท�ำให้ผู้บรโิ ภคคดิ ว่าสามารถสดู ดมได้
และมคี วามปลอดภัย

            3) ไม่ควรผลิตโฆษณาท่ีมลี กั ษณะของการสดู ดมสินค้า
            4) ไม่ควรแสดงการฉดี พ่นสนิ คา้ ท่เี หมอื นกบั การฉดี ใส่ตัวบคุ คลโดยตรง
            5) ให้มีข้อแนะน�ำหรือวิธีการฉีดพ่นผลิตภัณฑ์แก่ผู้ใช้ และแสดงการสวมถุงมือ หน้ากาก
ผ้าปิดปากจมูก การปฏิบัตอิ ยา่ งถูกตอ้ งอ่นื ๆ ในฉลากผลิตภณั ฑ์
       1.2 	แนวปฏบิ ัติการโฆษณาโดยไม่ระบตุ ราสินคา้ (Unbrand Advertising) แนวทางการโฆษณา
โดยไมร่ ะบุตราสินค้า ในกล่มุ ผลติ ภัณฑ์อาหาร สรุปไดด้ ังน้ี
            1) การโฆษณาโดยไม่ระบุตราสินค้า ต้องไม่เป็นประโยชน์ทางการค้าของสินค้าใด โดย
เฉพาะ ไมแ่ สดงสญั ลกั ษณข์ องสนิ คา้ หรอื บรษิ ทั ทเ่ี ชอื่ มโยงกบั สนิ คา้ ได้ แตต่ อ้ งเปน็ ขอ้ มลู ทมี่ ปี ระโยชต์ อ่ ผู้
บรโิ ภคและเผยแพรโ่ ดยองคก์ ร สมาคมต่างๆ ทีจ่ ะได้ประโยชนต์ ่ออตุ สาหกรรม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34