Page 32 - การบริหารกิจการสื่อสาร
P. 32

12-22 การบริหารกจิ การสอ่ื สาร

            9) การแสดงข้อความในยาที่มแี อสไพรินเป็นส่วนประกอบ ตอ้ งแสดงคำ� เตือนวา่ “อ่านคำ�
เตอื นในฉลากก่อนใช้ยา” และ “ห้ามใช้แกป้ วด ลดไข้ในเด็กและผูท้ ่มี อี ายุตำ่� กว่า 18 ปี นอกจากแพทยส์ ง่ั
ผปู้ ่วยไข้หวดั ใหญ่ ไขเ้ ลอื ดออก อสิ กุ อิใส” ในส่อื ต่างๆ อยา่ งชดั เจน

      ตารางท่ี 12.2 ตัวอย่างข้อความโฆษณาขายยาทางสื่อทั่วไปท่ีอนุญาตและไม่อนุญาตให้โฆษณา

ล�ำ  หัวข้อ  รายละเอียด         ตัวอย่างลักษณะข้อความ/แนวการโฆษณา
ดับ
                                อนุญาต                                  ไม่อนุญาต

1. แนวการ ห้ามการโฆษณาขายยา -	ภาพขอ้ ความเสยี งในการโฆษณา - เสียงผายลม
     โฆษณา โดยไมส่ ภุ าพ        	 ยาท่ีไม่ส่อไปในทางไม่สุภาพ - การใชถ้ อ้ ยคำ� หยาบคาย
                                	 ลามกอนาจาร                            -	ภาพโป๊ เปลือย ลามก
                                                                        	 อนาจาร ไม่สุภาพ

2. แนวการ ห้ามโฆษณาโดยการ -	ทำ� นองดนตรีเพลง โดยมีเงอ่ื นไข - เพลงโฆษณาเป็น
     โฆษณา รอ้ งร�ำท�ำเพลง      	 วา่ ตอ้ งไมส่ มั พนั ธก์ บั สรรพคณุ ยา 	 สรรพคณุ ยา

3. แนวการ หา้ มการโฆษณาโดย                     - - “ซอื้ 2 ขวด แถม 1
     โฆษณา วิธแี ถมพก/ออกสลาก                                  	 ขวด”
               รางวลั                                          - “ส่งฝากลอ่ งยา 5 กลอ่ ง
                                                               	 มาแลกเสอื้ ยดื 1 ตวั ”

4. แนวการ หา้ มการโฆษณาโดยการ - การแสดงอาการไอในการโฆษณา -	เสยี งร้องโอดโอย เสยี ง
     โฆษณา แสดงอาการทุกข์ทรมาน 	 ยา บรรเทาอาการไอ จะมเี งอื่ นไข 	 ร้องไออย่างรนุ แรง
             ของผู้ป่วย         	 กำ� กบั ไวว้ า่ “จะตอ้ งไม่แสดง - ภาพบาดแผลเหวอะหวะ
                                	 อาการทุกข์ทรมานของผู้ป่วย” -	สีหน้าของตวั แสดงที่
                                                                        	 บง่ บอกถึงความทกุ ข์
                                                                        	 ทรมาน

5. แนวการ จะต้องไม่ชักชวนให้ - การโฆษณายาระบาย                          - การโฆษณายาระบาย
     โฆษณา ผูบ้ ริโภคใช้ยาอยา่ ง 	 “..รบั ประทานกอ่ นนอน ชว่ ยระบาย 	 “..เพยี งคุณกินวนั ละ 1
             พร่ำ� เพรื่อ/ทำ� ใหเ้ ข้าใจ 	 เมือ่ มอี าการท้องผกู ” และ  	 เมด็ เป็นประจำ� ทุกวัน”
             วา่ เหมาะสมทจี่ ะบริโภค 	 เงอื่ นไขก�ำกบั ว่า “ใหใ้ ชเ้ ปน็ 	 “กนิ ก่อนนอนทุกวัน
             เป็นประจำ�         	 ยาลดความอ้วน/ลดนำ�้ หนัก” 	 เพือ่ ช่วยระบายทอ้ ง”
                                -	การโฆษณายาบรรเทาปวดเมื่อย 	 “...เนือ่ งจากการทำ� งาน
                                	 ตามรา่ งกาย                           	 หนกั ส�ำหรบั กรรมกร”

ที่มา:	แนวทางการโฆษณาขายยาต่อประชาชนทั่วไป. (2556). ส�ำนักยา ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กรุงเทพฯ:
      โรงพมิ พ์ส�ำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ, หน้า 17.
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37